วันจันทร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552

Routing Protocol คือ

Routing Protocol คือโพรโทคอลที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน routing table ระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆที่ทำงานในระดับ Network Layer (Layer 3) เช่น Router เพื่อให้อุปกรณ์เหล่านี้สามารถส่งข้อมูล (IP packet) ไปยังคอมพิวเตอร์ปลายทางได้อย่างถูกต้อง โดยที่ผู้ดูแลเครือข่ายไม่ต้องแก้ไขข้อมูล routing table ของอุปกรณ์ต่างๆตลอดเวลา เรียกว่าการทำงานของ Routing Protocol ทำให้เกิดการใช้งาน dynamic routing ต่อระบบเครือข่าย

ตัวอย่าการทำงานของ Routing potocolRIP (Routing Information Protocol) OSPF (Open Shortest Path First) IGRP (Interior Gateway Routing Protocol) (Cisco Proprietary) EIGRP (Enhanced Interior Gateway Routing Protocol) (Cisco Proprietary) BGP (Border Gateway Protocol)

Router คืออะไร
RouterRouter เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่า Bridge โดยทำงานเสมือนเป็นเครื่องหรือ node หนึ่งใน LAN ซึ่งจะทำหน้าที่รับข้อมูลเข้ามาแล้วส่งต่อไปยังปลายทาง โดยอาจส่งในรูปแบบของ packet ที่ต่างออกไป เพื่อไปผ่านสายสัญญาณแบบอื่นๆ เช่น สายโทรศัพท์ที่ต่อผ่านโมเด็มก็ได้ ดังนั้นจึงอาจใช้ Router ในการเชื่อมต่อ LAN หลายแบบเข้าด้วยกันผ่าน WAN ได้ด้วย และเนื่องจากการที่มันทำตัวเสมือนเป็น node หนึ่งใน LAN นี้ยังทำให้มันสามารถทำงานอื่นๆได้อีกมาก เช่น รวบรวมข้อมูลเพื่อหาเส้นทางที่ดที่สุดในการส่งข้อมูลต่อหรือตรวจสอบข้อมูลที่เข้ามานั้นมาจากไหน ควรจะให้ผ่านหรือไม่ เพื่อช่วยในเรื่องการรักษาความปลอดภัยด้วย
การทำงานของ Router
สิ่งที่แตกต่างกันระหว่าง Bridge กับ Router คือ Bridge ทำงานในระดับ Data Link Layer คือจะใช้ข้อมูล station address ในการทำงานส่งข้อมูลไปยังที่ใดๆ ซึ่งหมายเลข station address นี้มีการกำหนดมาจากฮาร์ดแวร์หรือที่ส่วนของ Network Interface Card (NIC) และถูกกำหนดมาเฉพาะตัวจากโรงงานไม่ให้ซ้ำกัน ถ้ามีการเปลี่ยน NIC นี้ไป ก็จำทำให้ station address เปลี่ยนไปด้วย ส่วน Network Layer address ในกการส่งผ่านข้อมูลโปรโตคอลของเครือข่ายชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น IPX, TCP/IP หรือ AppleTalk ซึ่งจะเป็นโปรโตคอลที่ทำงานใน Network Layer การกำหนด Network address ทำได้โดยผู้ดูแลระบบเครือข่ายนั้น ทำให้สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ง่าย และสามารถใช้อุปกรณ์ Router เชื่อมโยงเครือข่ายที่แยกจากกันให้สามารถส่งผ่านข้อมูลร่วมกันได้และทำให้เครือข่ายขยายออกไปได้เรื่อยๆหน้าที่หลักของ Router คือการหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่ดีที่สุด และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น ทั้งนี้ Router สามารถเชื่อมโยงเครือข่ายที่ใช้สื่อสัญญาณหลายแบบแตกต่างกันได้ไม่ว่าจะเป็น Ethernet, Token Rink หรือ FDDI ทั้งๆที่ในแต่ละระบบจะมี packet เป็นรูปแบบของตนเองซึ่งแตกต่างกัน โดยโปรโตคอลที่ทำงานในระดับบนหรือ Layer 3 ขึ้นไปเช่น IP, IPX หรือ AppleTalk เมื่อมีการส่งข้อมูลก็จะบรรจุข้อมูลนั้นเป็น packet ในรูปแบบของ Layer 2 คือ Data Link Layer เมื่อ Router ได้รับข้อมูลมาก็จะตรวจดูใน packet เพื่อจะทราบว่าใช้โปรโตคอลแบบใด จากนั้นก็จะตรวจดูเส้นทางส่งข้อมูลจากตาราง Routing Table ว่าจะต้องส่งข้อมูลนี้ไปยังเครือข่ายใดจึงจะต่อไปถึงปลายทางได้ แล้วจึงบรรจุข้อมูลลงเป็น packet ของ Data Link Layer ที่ถูกต้องอีกครั้ง เพื่อส่งต่อไปยังเครือข่ายปลายทาง

ข้อสอบ 60 ข้อ
1. ข้อใดคือ 11001010.00011101.00111001.00000010
ก. 202.50.5.3
ข.202.53.3.2
ค. 202.29.57.2
ง.202.29.52
เฉลย ค. 202.29.57.2 ง.202.29.52
2.ข้อใดคือ 0111110.1.00011000.10011011.01000010
ก. 125.20.155.66
ข. 125.24.155.66
ค. 125.50.15.66
ง. 120.25.55.58
เฉลย ข. 125.24.155.66
3.42.58.5.29 คือ IP Class อะไร
ก. A
ข. B
ค. C
ง. D
4.IP Class A รองรับได้กี่ Host
ก. 2^10 Host
ข. 2^16 Host
ค. 2^14 Host
ง. 2^8 Host
เฉลย ก. 2^10 Host
5. IP Private Class C รองรับได้กี่ Host
ก. 2^10 Host
ข. 2^16 Host
ค. 2^14 Host
ง. 2^8Host
เฉลย ง. 2^8Host
6. คลาสของ Network ข้อใดคือ class A
ก. N.N.N.H
ข. N.H.H.H
ค. N.H.N.H
ง. H.H.H.N
เฉลย ข. N.H.H.H
7.คลาสของ Network ข้อใดคือ Class C
ก. N.N.N.H
ข. N.H.H.H
ค. N.H.N.H
ง. H.H.H.N
เฉลย ก. N.N.N.H
8.Private IP Addresses Class B คือ
ก. 192.168.0.0 through 192.168.255.255
ข. 172.16.0.0 through 172.16.255.255
ค. 10.0.0.0 through 10.255.255.255
ง. 172.16.0.0 through 172.31.255.255
เฉลย ง. 172.16.0.0 through 172.31.255.255
9.Broadcast Address ของ Class C คือ
ก. 255.255.255.254
ข. 255.255.255.256
ค. 255.255.255.255
ง. 255.255.255.0
เฉลย ค. 255.255.255.255
10.ข้อใดคือ Private IP Address
ก. 12.0.0.1
ข. 172.20.14.36
ค. 168.172.19.39
ง. 172.33.194.30
เ ฉลย ข. 172.20.14.36
11.Subnet Mask ของ /17 คือ
ก. 255.255.128.0
ข. 255.248.0.0
ค. 255.255.192.0
ง. 255.255.248.0
เฉลย ก. 255.255.128.0
12.Subnet Mask ของ /25 คือ
ก. 255.255.128.0
ข. 255.255.255.128
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.240
เฉลย ข. 255.255.255.128
13.Subnet Mask ของ /20 คือ
ก. 255.255.240.0
ข. 255.240.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.240
เฉลย ก. 255.255.240.0
14.Network Mask ของ Class C คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ข.
เฉลย ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ข.
15.network Mask ของ Class C คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกทุกข้อ.เฉลย ค. 255.255.255.0
16.สัญลักษณ์ของการ Mark คือ
ก. #
ข. \
ค. .
ง. /
เฉลย ง. /
17.CIDR คือ
ก. การจัดสรร Subnet แบบไม่แบ่งคลาส
ข. การจัดสรร IP แบบไม่แบ่งคลาส
ค. การหาเส้นทางแบบไม่แบ่งคลาส
ง. การจับรอดแคสสัญญาณข้อมูล แบบไม่แบ่งคลาส
เฉลย
18.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 3 Bit ของ Class C มี CIDR เท่ากับ
ก. /21
ข. /25
ค. /27
ง. /29
เฉลย ค. /27
19.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 5 Bit ของ Class B มี CIDR เท่ากับ
ก. /15
ข. /17
ค. /19
ง. /21
เฉลย ง. /21
20.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 8 Bit ของ Class B มี CIDR เท่ากับ
ก. /16
ข. /20
ค. /24
ง. /27
เฉลย ค. /24
21.การแบ่ง Subnet แบบ Mark 5 Bit ของ Class A มี CIDR เท่ากับ
ก. /13
ข. /21
ค. /30
ง. ผิดทุกข้อ
เฉลย ก. /13
22.จำนวน Host ของการ Mark 4 Bit Class C เท่ากับเท่าใด
ก. 2024 Host
ข. 254 Host
ค. 18 Host
ง. 14 Host
เฉลย ง. 14 Host
23.จำนวน Host ของการ Mark 5 Bit Class C เท่ากับเท่าใด
ก. 2 Host
ข. 6 Host
ค. 14 Host
ง. 30 Host
เฉลย ข. 6 Host
24.จำนวน Subnet ของการ Mark 4 Bit Class A เท่ากับเท่าใด
ก. 2 Subnets
ข. 6 Subnets
ค. 14 Subnets
ง. 30 Subnets
เฉลย ค. 14 Subnets
25. จำนวน Subnet ของการ Mark 6 Bit Class B เท่ากับเท่าใด
ก. 14 Subnets
ข. 30 Subnets
ค. 62 Subnets
ง. 126 Subnets
เฉลย ค. 62 Subnets
26.จำนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.224
ก. 28 Hosts
ข. 32 Hosts
ค. 30 Hosts
ง. 62 Hosts
เฉลย ค. 30 Hosts
27.จำนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.192
ก. 28 Hosts
ข. 32 Hosts
ค. 30 Hosts
ง. 62 Hosts
เฉลย ง. 62 Hosts
28.จำนวนวน Host ที่เชื่อมต่อได้สูงสุดของ 255.255.255.192
ก. 4094 Hosts
ข. 521 Hosts
ค. 1024 Hosts
ง. 128 Hosts
เฉลย ก. 4094 Hosts
29.ต้องการใช้ Subnet จำนวน 29 Subnet จะยืม (Mark) จาก คลาส A เท่าไดไหร่
ก. 3
ข. 4
ค. 5
ง. 6เฉลย ค. 5
30.จากข้อ 29 Subnet Mask ที่แสดงคือ
ก. 255.192.0.0
ข. 255.255.255.248
ค. 255.255.248.0
ง. 255.248.0.0
เฉลย ง. 255.248.0.0
31.ข้อไดไม่ใช่ Sub network ID สำหรับเครื่องที่ใช้ IP Address หมายเลข 200.10.5.68/28
ก. 200.10.5.56
ข. 200.10.5.32
ค. 200.10.5.64
ง. 200.10.5.0
32.ข้อใดคือ Network Address ของหมายเลข172.16.0.0/19
ก. 8 Subnets ; 2,046 Hosts
ข. 8 Subnets ; 8,198 Hosts
ค. 7 Subnets ; 30 Hosts
ง. 7 Subnets ; 62 Hosts
33.ข้อใดคือ Subnet ของ IP address 172.16.210.0/22
ก. 172.16.208.0
ข. 172.16.254.0
ค. 172.16.107.0
ง. 172.16.254.192
34.ข้อใดคือ Subnet ของ IP Address 201.100.5.68/28
ก. 201.100.5.31
ข. 201.100.5.64
ค. 201.100.5.65
ง. 201.100.5.1
35. ข้อใดคือ Subnet ของ IP Address 172.16.11.1/25
ก. 172.16.112.0
ข. 172.16.0.0
ค. 17.16.96.0
ง. 172.15.255.0
กำหนด IP Address 192.168.1.1/28 จงคำนวณหา Sub network ID IP Usage และ Broadcast แลัวตอบคำถาม
36.หมายเลยใด ไม่สามารถใช้ได้
ก. 192.168.1.13
ข. 192.158.1.226
ค. 193.168.1.31
ง. 192.168.1.253
37.หมายาเลยใด เป็น Sub network Id ของ Subnet ที่ 00001000
ก. 192.168.1.13
ข. 192.168.1.226
ค. 192.168.1.31
ง. 192.168.1.253
38.หมายเลขใด เป็น Broadcast ID ของ Subnet ที่ 000010000
ก. 192.168.1.13
ข. 192.168.1.16
ค. 192.168.1.31
ง. 192.168.1.32
39.หมายเลขใด เป็น Sub network ID ของ Subnets ที่ 001100000
ก. 192.168.1.63
ข. 192.168.1.45
ค. 192.168.1.48
ง. 192.168.1.111
40.หมายเลขใด เป็น Broadcast ID ของ Subnet ที่ 001100000
ก. 192.168.1.63
ข. 192.168.1.45
ค. 192.168.1.48
ง. 192.168.1.100
41.หมายเลขใด เป็น IP Usage ของ Subnet ที่ 001100000
ก. 192.168.1.50
ข. 192.168.1.96
ค. 192.168.1.81
ง. 192.168.1.10
กำหนด IP Address 102.168.1.1/27 จงคำนวณหา Sub network Id IP Usage และ Broadcast แล้วตอบคำถาม
42. ข้อใดไม่เข้าพวก
ก. 192.168.1.1
ข. 192.16.1.95
ค. 192.168.33
ง. 192.168.1.124
43.ข้อใดไม่เข้าพวก
ก. 192.168.1.0
ข. 192.168.1.06
ค. 192.168.32
ง. 192.168.1.159
44.หมายเลขใด ไม่สามารถใช้ได้
ก. 192.168.1.193
ข. 192.168.1.161
ค. 192.16.1.127
ง. 192.168.1.60
45.ข้อใดคือ IP Usage ของ Dub network 192.168.1.96
ก. 192.168.1.0 -192.168.1.31
ข. 192.168.1.65 - 192.168.1.04
ค. 192.168.1.97 – 192.168.1.126
ง. 192.168.1.95 – 192.168.1.127
จงใช้ภาพด้านล่างตอบคำถามข้อ 46-50
กำหนดให้ใช้ IP Private Network Class C 192.168.1.1NET_A :13 HostsNET_B :50 HostsNET_C :2 HostsNET_D :25 Hosts
46.Net_D ควรใช้ / อะไร
ก. /26
ข. /27
ค. /28
ง. /29
47.จาก Network ข้างต้น ใช้ Sub net mask อะไรจึงจะรองรับได้ทุก Network
ก. /26
ข. /27
ค. /28
ง. /29
48.Net_C มีหมายเลย Sub net mask อะไร
ก. 255.255.255.192
ข. 255.255.255.254
ค. 255.255.255.248
ง. 255.266.255.252
49.Net_B มีหมายเลข Subnet Mask อะไร
ก. 255.255.255.192
ข. 255.255.255.254
ค. 255.255.255.248
ง. 255.255.2555.252
50.หากใช้ /26 หมายเลข Sub network IP ของ Network สุดท้ายคือ
ก. 102.168.1.128
ข. 192.168.1.192
ค. 192.168.1.191
ง. 192.168.1.255
51.จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Arq –a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Tracert
52. จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Arp-a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Ipconfig/all
53.จากภาพด้านบนเกิดจากการใช้คำสั่งใด
ก. Tracert-a
ข. Netstat
ค. Nslookup
ง. Ipconfig/all
54.การใช้คำสั่งตรวจสอบดู computer Name คือ
ก. Ipconfig
ข. Nslookup
ค. Nostname
ง. Tracert
55.การใช้คำสั่งตรวจสอบดู IP และ Subnet Mask คือ
ก. IPconfig
ข. Nslookup
ค. Hostname
ง. Tracert
56.การตรวจสอบการเชื่อมต่อระหว่างต้นทางและปลายทางคือ
ก. Ipconfig
ข. Nslookup
ค. Hostname
ง. Tracert
57.Destination Host Unreachable หมายความว่า
ก. ติดตั้ง IP ที่ Host ไม่ถูกต้อง
ข. ติดตั้ง Card LAN ไม่ถูกต้อง
ค. Host ไม่ถูกเชื่อมต่อกับเครื่องที่ PING
ง. HOST ไม่ถูกเชื่อมต่อกับระบบ
58.Tracert คือ
ก. การหาเส้นทางการเชื่อมต่อจากต้นทางไปปลายทาง
ข. การหาเส้นทางการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์
ค. การตรวจสอบสถานะของระบบเครือข่าย
ง. ตรวจสอบความผิดพลาดของ Packet
59.การเข้าหน้า CMD ทำอย่างไรในครั้งแรก
ก. Start > run > cmd
ข. Start > run > connand
ค. Start > allprogram > accessories> command prompt
60.ARP(Address Resolution Protocol) หรือหมายเลข LAN Card มีกี่ไบต์
ก. 6 Bit
ข. 16 Bit
ค. 8 Bit
ง. 32 Bit

วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2552

รูปแบบของการเชื่อมโยงเครือข่าย หรือโทโปโลยี (LAN Topology)
โทโปโลยีคือลักษณะทางกายภาพ (ภายนอก) ของระบบเครือข่าย ซึ่งหมายถึง ลักษณะของการเชื่อมโยงสายสื่อสารเข้ากับอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ภายในเครือข่ายด้วยกันนั่นเอง โทโปโลยีของเครือข่าย LAN แต่ละแบบมีความเหมาะสมในการใช้งาน แตกต่างกันออกไป การนำไปใช้จึงมีความจำเป็นที่เราจะต้องทำการศึกษาลักษณะและคุณสมบัติ ข้อดีและข้อเสียของโทโปโลยีแต่ละแบบ เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบพิจารณาเครือข่าย ให้เหมาะสมกับการใช้งาน รูปแบบของโทโปโลยี ของเครือข่ายหลัก ๆ มีดังต่อไปนี้


1.โทโปโลยีแบบบัส (BUS) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก ที่เรียกว่า BUS หรือ แบ็คโบน (Backbone) คือ สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกว่าโหนด (Node) ข้อมูลจากโหนดผู้ส่งจะถูกส่งเข้าสู่สายบัสในรูปของแพ็กเกจ ซึ่งแต่ละแพ็กเกจจะประกอบไปด้วยข้อมูลของผู้ส่ง, ผู้รับ และข้อมูลที่จะส่ง การสื่อสารภายในสายบัสจะเป็นแบบ 2 ทิศทางแยกไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของ บัส โดยตรงปลายทั้ง 2 ด้านของบัส จะมีเทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) ทำหน้าที่ลบล้างสัญญาณที่ส่งมาถึง เพื่อป้องกันไม่ให้สัญญาณข้อมูลนั้นสะท้อนกลับ เข้ามายังบัสอีก เพื่อเป็นการป้องกันการชนกันของข้อมูลอื่น ๆ ที่เดินทางอยู่บนบัสในขณะนั้น
สัญญาณข้อมูลจากโหนดผู้ส่งเมื่อเข้าสู่บัส ข้อมูลจะไหลผ่านไปยังปลายทั้ง 2 ด้านของบัส แต่ละโหนดที่เชื่อมต่อเข้ากับบัส จะคอยตรวจดูว่า ตำแหน่งปลายทางที่มากับแพ็กเกจข้อมูลนั้นตรงกับตำแหน่งของตนหรือไม่ ถ้าตรง ก็จะรับข้อมูลนั้นเข้ามาสู่โหนด ตน แต่ถ้าไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้สัญญาณข้อมูลนั้นผ่านไป จะเห็นว่าทุก ๆ โหนดภายในเครือข่ายแบบ BUS นั้นสามารถรับรู้สัญญาณข้อมูลได้ แต่จะมีเพียงโหนดปลายทางเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่จะรับข้อมูลนั้นไปได้
ข้อดี
- ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก สามารถขยายระบบได้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย ซึ่งถือว่าระบบบัสนี้เป็นแบบโทโปโลยีที่ได้รับความนิยมใช้กันมากที่สุดมา ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เหตุผลอย่างหนึ่งก็คือสามารถติดตั้งระบบ ดูแลรักษา และติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติมได้ง่าย ไม่ต้องใช้เทคนิคที่ยุ่งยากซับซ้อนมากนัก
ข้อเสีย
- อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมี สัญญาณขาดที่ตำแหน่งใดตำแหน่งหนึ่ง ก็จะทำให้เครื่องบางเครื่อง หรือทั้งหมดในระบบไม่สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย
- การตรวจหาโหนดเสีย ทำได้ยาก เนื่องจากขณะใดขณะหนึ่ง จะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อความ ออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จำนวนมากๆ อาจทำให้เกิดการคับคั่งของเน็ตเวิร์ค ซึ่งจะทำให้ระบบช้าลงได้


2.โทโปโลยีแบบวงแหวน (RING) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในระบบเครือข่าย ทั้งเครื่องที่เป็นผู้ให้บริการ( Server) และ เครื่องที่เป็นผู้ขอใช้บริการ(Client) ทุกเครื่องถูกเชื่อมต่อกันเป็นวงกลม ข้อมูลข่าวสารที่ส่งระหว่างกัน จะไหลวนอยู่ในเครือข่ายไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยไม่มีจุดปลายหรือเทอร์มิเนเตอร์เช่นเดียวกับเครือข่ายแบบ BUS ในแต่ละโหนดหรือแต่ละเครื่อง จะมีรีพีตเตอร์ (Repeater) ประจำแต่ละเครื่อง 1 ตัว ซึ่งจะทำหน้าที่เพิ่มเติมข้อมูลที่จำเป็นต่อการติดต่อสื่อสารเข้าในส่วนหัวของแพ็กเกจที่ส่ง และตรวจสอบข้อมูลจากส่วนหัวของ Packet ที่ส่งมาถึง ว่าเป็นข้อมูลของตนหรือไม่ แต่ถ้าไม่ใช่ก็จะปล่อยข้อมูลนั้นไปยัง Repeater ของเครื่องถัดไป
ข้อดี
- ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลไปยังผู้รับได้หลาย ๆ เครื่องพร้อม ๆ กัน โดยกำหนดตำแหน่งปลายทางเหล่านั้นลงในส่วนหัวของแพ็กเกจข้อมูล Repeaterของแต่ละเครื่องจะทำการตรวจสอบเองว่า ข้อมูลที่ส่งมาให้นั้น เป็นตนเองหรือไม่
- การส่งผ่านข้อมูลในเครือข่ายแบบ RING จะเป็นไปในทิศทางเดียวจากเครื่องสู่เครื่อง จึงไม่มีการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลที่ส่งออกไป
- คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในเน็ตเวิร์กมีโอกาสที่จะส่งข้อมูลได้อย่างทัดเทียมกัน
ข้อเสีย
- ถ้ามีเครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายเสียหาย ข้อมูลจะไม่สามารถส่งผ่านไปยังเครื่องต่อ ๆ ไปได้ และจะทำให้เครือข่ายทั้งเครือข่าย หยุดชะงักได้
- ขณะที่ข้อมูลถูกส่งผ่านแต่ละเครื่อง เวลาส่วนหนึ่งจะสูญเสียไปกับการที่ทุก ๆ Repeater จะต้องทำการตรวจสอบตำแหน่งปลายทางของข้อมูลนั้น ๆ ทุก ข้อมูลที่ส่งผ่านมาถึง


3.โทโปโลยีแบบดาว (STAR) เป็นรูปแบบที่ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกันในเครือข่าย จะต้องเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ตัวกลางตัวหนึ่งที่เรียกว่า ฮับ (HUB) หรือเครื่อง ๆ หนึ่ง ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางของการเชื่อมต่อสายสัญญาญที่มาจากเครื่องต่าง ๆ ในเครือข่าย และควบคุมเส้นทางการสื่อสาร ทั้งหมด เมื่อมีเครื่องที่ต้องการส่งข้อมูลไปยังเครื่องอื่น ๆ ที่ต้องการในเครือข่าย เครื่องนั้นก็จะต้องส่งข้อมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไป
ข้อดี
- การติดตั้งเครือข่ายและการดูแลรักษาทำ ได้ง่าย หากมีเครื่องใดเกิดความเสียหาย ก็สามารถตรวจสอบได้ง่าย และศูนย์ กลางสามารถตัดเครื่องที่เสียหายนั้นออกจากการสื่อสาร ในเครือข่ายได้เลย โดยไม่มีผลกระทบกับระบบเครือข่าย
ข้อเสีย
- เสียค่าใช้จ่ายมาก ทั้งในด้านของเครื่องที่จะใช้เป็น เครื่องศูนย์กลาง หรือตัว HUB เอง และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งสายเคเบิลในเครื่องอื่น ๆ ทุกเครื่อง การขยายระบบให้ใหญ่ขึ้นทำได้ยาก เพราะการขยายแต่ละครั้ง จะต้องเกี่ยวเนื่องกับเครื่องอื่นๆ ทั้งระบบ
4.โทโปโลยีแบบ Hybrid เป็นรูปแบบใหม่ ที่เกิดจากการผสมผสานกันของโทโปโลยีแบบ STAR , BUS , RING เข้าด้วยกัน เพื่อเป็นการลดข้อเสียของรูปแบบที่กล่าวมา และเพิ่มข้อดี ขึ้นมา มักจะนำมาใช้กับระบบ WAN (Wide Area Network) มาก ซึ่งการเชื่อมต่อกันของแต่ละรูปแบบนั้น ต้องใช้ตัวเชื่อมสัญญาญเข้ามาเป็นตัวเชื่อม ตัวนั้นก็คือ Router เป็นตัวเชื่อมการติดต่อกัน
5.โทโปโลยีแบบ MESH เป็นรูปแบบที่ถือว่า สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด เป็นรูปแบบที่ใช้วิธีการเดินสายของแต่เครื่อง ไปเชื่อมการติดต่อกับทุกเครื่องในระบบเครือข่าย คือเครื่องทุกเครื่องในระบบเครือข่ายนี้ ต้องมีสายไปเชื่อมกับทุก ๆ เครื่อง ระบบนี้ยากต่อการเดินสายและมีราคาแพง จึงมีค่อยมีผู้นิยมมากนัก
ข้อสอบ
(1) สถาปัตยกรรมระบบเครือข่าย (Topology)แบบใดนิยมใช้มากที่สุด
ก. Bus Topology
ข. Ring Topology
ค. Star Topology
ง. Hybridge Topology
ง.เพราะมีราคาแพงจึงไม่ค่อยมีผู้นิยมใช้มากนัก
(2) ข้อใดไม่ใช่ข้อดีของ Bus Topology
ก. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก
ข. สามารถขยายระบบได้ง่าย
ค. เสียค่าใช้จ่ายมาก
ง. เสียค่าใช้จ่ายน้อย
ค. เพราะ ข้อดีของ Bus Topology ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายสัญญาณมากนัก
(3) เครื่องคอมพิวเตอร์จะถูกเชื่อมต่อกันโดยผ่ายสายสัญญาณแกนหลัก แบ็คโบน (Backbone) คือรูปแบบใด
ก. MESH
ข. RING
ค. STAR
ง. BUS
ง. เพราะ คือ สายรับส่งสัญญาณข้อมูลหลัก ใช้เป็นทางเดินข้อมูลของทุกเครื่องภายในระบบเครือข่าย และจะมีสายแยกย่อยออกไปในแต่ละจุด เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ซึ่งเรียกว่าโหนด (Node)
(4) ทิศทางในการส่งผ่านข้อมูลแบบ Ring Topology เป็นแบบใด
ก. ส่งข้อมูลมายัง HUB หรือเครื่องศูนย์กลางก่อน แล้ว HUB ก็จะทำหน้าที่กระจายข้อมูลนั้นไปในเครือข่ายต่อไป
ข. ส่งข้อมูลแบบแยกย่อยออกไป
ค. ส่งข้อมูลทิศทางเดียวจากเครื่องสู่เครื่อง
ง. ส่งข้อมูลไปกลับ ได้ทุกเครื่องตอบ
ค. เพราะ การส่งผ่านข้อมูลแบบ Ring Topology จะไม่มีการชนกันของสัญญาณ ข้อมูลที่ส่งออกไปในทิศทางเดียวจากเครื่องสู่เครื่อง
(5) Topology แบบใด สามารถป้องกันการผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นกับระบบได้ดีที่สุด
ก. BUS
ข. MESH
ค. RING
ง. STARตอบ
ข. เพราะ รูปแบบ Mesh ได้แก่ แต่ละ Link รับผิดชอบเพียงอุปกรณ์ 2 ตัว จึงไม่เกิดปัญหา
(6) Topology แบบวงแหวนมีชื่อเรียนเป็นภาษาอันกฤษว่าอย่างไร
ก.king
ข.ring
ค.server ring
ง.server king
ข.ring
(7) Topology แบบวงแหวนมีทิศทางเดียวกัน โดยมีจุดปลายหรือเทอร์มิเนเตอร์เช่นเดียวกับเครือยข่ายแบบใด
ก.star
ข.Hybrid
ค.Bus
ง.Mesh
ง.busแหล่งที่มา http://www.yupparaj.ac.th/RoomNet2545/activity7/topology.htmhttp://guru.google.co.th/guru/thread?tid=7098f797c7c0afea

Etternet ( IEEE802.3)
IEEE 802.3 หรือ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) เป็นเครือข่ายที่มีความเร็วสูงการส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที สถานีในเครือข่ายอาจมีโทโปโลยีแบบัสหรือแบบดาว IEEE ได้กำหนดมาตรฐานอีเทอร์เน็ตซึ่งทำงานที่ความเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาที

ไว้หลายประเภทตามชนิดสายสัญญาณเช่น• 10Base5 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา (Thick Ethernet) ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 500 เมตร• 10Base2 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอ๊กเชียลแบบบาง (Thin Ethernet) ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 185 เมตร• 10BaseT อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบดาวซึ่งใช้ฮับเป็นศูนย์กลาง สถานีและฮับเชื่อมด้วยสายยูทีพี (Unshield Twisted Pair) ด้วยความยาวไม่เกิน 100 เมตรรูปที่ข้างล่าง แสดงถึงลักษณะเครือข่ายอีเทอร์เน็ตแยกตามประเภทของสายสัญญาณ รหัสขึ้นต้นด้วย 10 หมายถึงความเร็วสายสัญญาณ 10 เมกะบิตต่อวินาที คำว่า “Base” หมายถึงสัญญาณชนิด “Base” รหัสถัดมาหากเป็นตัวเลขหมายถึงความยาวสายต่อเซกเมนต์ในหน่วยหนึ่งร้อยเมตร (5=500, 2 แทนค่า 185) หากเป็นอักษรจะหมายถึงชนิดของสาย เช่น T คือ Twisted pair หรือ คือ

Fiber opticsส่วนมาตรฐานอีเทอร์เน็ตความเร็ว 100 เมกกะบิตต่อวินาทีที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่ 100BaseTX และ 100BaseFX สำหรับอีเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบกิกะบิตอีเทอร์เน็ตเริ่มแพร่หลายมากขึ้น ตัวอย่างของมาตรฐานกิกะบิตอีเทอร์เน็ตในปัจจุบันได้แก่ 100BaseT, 100BaseLX และ 100BaseSX เป็นต้น















สรุป

ในปัจจุบันมาตราฐานGigabit Ethernet (IEEE802.3z)ยังอยู่ในระหว่างการพิจารณาประกาศใช้อย่างเป็นทางการ ซึ่งหมายความว่าอาจจะมีการปรับปรุงแก้ไขในรายละเอียดของค่าพารามิเตอร์ต่างได้อีก จึงนับเป็นการเร็วเกินไปที่จะจัดหาอุปกรณ์GigabitEthernet ในท้องตลาดมาใช้ทั้งนี้เนื่องด้วยเหตุผลทางด้านความเข้ากันได้กับอุปกรณ์ในแบบเดียวกันของต่างผู้ผลิตซึ่'อาจwbr>wbr>r>wb>r>br>wbr>b<br>wbrbr>wbr และ Gigabit Ethernet ก็ไม่สารมารถจะใช้ทดแทนเทคโนโลยี ATM ได้ ดังนั้นการนำ Gigabit Ethernet มาใช้ให้ได้ประโยชน์สูงสุดก็คือการนำมาเพิ่มประสิทธิ์ภาพในการรับส่งข้อมูลของเครือข่าย Ethernet ที่มีอยู่เดิมให้ดีขึ้นดังที่กล่าวมาแล้ว
10 mbps
ความเร็ว 100 Mbps ตรงมุมขวาล่างของคอมเราเป้น ความเร็วของ สาย Eternet ที่ทำการต่อรองกับ Lan Card ของท่านว่าจะใช้ ในแบบ 100 Mbps Full Duplex หรือจะใช้แบบ 10 Mbps Half Duplex ครับ ซึ่งมันจะวิ่งที่ ความเร็ว 10 หรือ100 mbps ขึ้นอยู่กับ lan Card และ interface ของ switch ของท่านครับ สังเกต ตรง 10/100 นั้นแหละครับ คือรองรับทั้ง 10 และ 100 mbps อุปกรณ์ Router ของ ToT ที่แถมมาให้นั้น มันเอาความสามารถของ Modem Router ไปรวมกับความสามารถของ Switch หรือ Hub ครับ พอดีผมไมได้ใช้ Router ของ ToT ที่มันแถมมาให่งะ เลยไม่รู้ ครับส่วน เหตุใดถึงจะได้ 100 หรือ 10 ขึ้นอยู่กับ อุปกรณ์ครับ ถ้าใช้ hub จะเป็น 10 Mbps และสื่อสารแบบ Half Duplex เพราะว่ามันใช้ ช่องทางเดียวกันทุก port ทำให้อาจจะเกิดการชนกนของข้อมูลได้ จึงมีการใช้ อัลกอรึทึม CSMA/CD เพื่อป้องกันการชนกันของข้อมูลครับ และสาเหตุที่มันส่งแบบ Half Duplux ก็เพราะเจ้า CSMA/CD นั้นแหละ ถ้าจะให้อธิบายถึงสาเหตุจริงๆนั้นยาวมากๆๆๆเลย ว่าเหตุใดที่ใช้ csma/cd แล้วมันถึงต้องสื่อสารแบบ half duplexส่วน Switch ทำไมมันส่งข้อมูลแบบ 100 Mbps ก็เพราะ1. ความทันสมัยของตัว เทคโนโลยีใน Switch2. มันส่งข้อมูลแบบของใครของมันฉะนั้น ข้อมูลจะไม่มีการชนกัน เว้นแต่ buffer และ Controller ของ Switch จะประมวลผลการรับส่งข้อมูลไม่ไหวเท่านั้นเอง เกินความสามารถของ hardware หรือ ข้อมูลมีจำนวนมากๆเกิน banwidth ของ สาย และ interface เท่านั้น3. เมื่อมันไม่มีการชนกัน ฉะนั้น อัลกอริทึม CSMA/CD จึงไม่จำเป็นต้องใช้ มันเลยทำการ disable แกทำให้สามารถสื่อสารแบบ Full Duplex และ ที่ความเร็ว 100 Mbps ได้ครับ
100 mbps ( cigabit Ehernet )

วันพฤหัสบดีที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

ข้อสอบ windows server 2003
1. โปรแกมที่ใช้ ติดตั้งระบบปฏิบัติการเสมือนมีชื่อว่า จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุด
ก. VM WARE
ข. VM WARK
ค. VM Whare
ง. ไม่มีข้อถูก
2. RAM ควรมีขนาดเริ่มต้นเท่าใด สำหรับ Windows server 2003
ก. 124 mb
ข. 128 mb
ค. 254 mb
ง. 1 gb
3. คำว่า Windows หมายถึง
ก.ประตู
ข.หน้าต่าง
ค.บานเกล็ด
ง.เพดาน
4. ข้อใดคือ ชื่อย่อเว็บเซิร์ฟเวอร์ของ Windows server 2003
ก. IIS
ข. SSI
ค. ISS
ง. ไม่มีข้อถูก
5. Windows server 2003 รองรับการมีเซิร์ฟเวอร์ได้ ไม่เกินกี่เครื่อง
ก. 5 เครื่อง
ข. 6 เครื่อง
ค. 7 เครื่อง
ง. 8 เครื่อง
6. ถ้าเราติดตั้ง Windows server 2003 จากซีดีควรเลือกคำสั่งใดต่อไปนี้
ก. boot from CD drive
ข. boot from UHB drive
ค. ถูกทั้ง ก. และข
ง. ไม่มีข้อถูก
7. Windows Server 2003 x64 Editions คือ
ก. ทำงานร่วมกับโพรเซสเซอร์ x64
ข. การประมวลผลแบบ 64
ค. ข้อ ข.ถูก
ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.
8. DFN ย่อมาจากอะไรต่อไปนี้
ก. Distributed File System
ข. Distribute File Systems
ค. Systems Distribute File
ง. ไม่มีข้อถูก
9. Terminal Services มีประโยชน์อย่างไร
ก. เพื่อรันโปรแกรม
ข. เพื่อรันแอพพลิเคชั่น
ค.รักษาความปลอดภัย
ง. ถูกทุกข้อ
10. Computer Server หมายถึง
ก. Computer ที่เป็นลูกข่าย
ข. Computer ที่เป็นแม่ข่าย
ค. ระบบปฏิบัติการ
ง. Computer ที่เป็น mainframe
เฉลย
1. ก.VM WARE
2.ข.128 mb
3. ข.หน้าต่าง
4. ก. IIS
5. ง. 8 เครื่อง
6. ก. boot from CD drive
7. ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข้อ ข.
8. ก. Distributed File System
9. ข.เพื่อรันแอพพลิเคชั่น
10.ข. Computer ที่เป็นแม่ข่าย
ข้อสอบ ระบบเครือข่าย
1.ข้อใดเป็นวิธีการกำหนดให้มีการส่งและรับข้อมูลด้วยอัตราคงที่
ก. AAL1
ข. AAL2
ค. AAL3 / 4
ง. AAL5
2.เครือข่ายอย่างง่ายที่สุดของ ATM ประกอบด้วยชิ้นส่วนเครือข่ายอะไรบ้าง
ก. ATM Switch
ข. ATM end point
ค. ถูกเฉพาะข้อ ก.
ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
3.เครือข่าย ATM ใช้อะไรเป็นมาตรฐาน
ก. สัญญาณคลื่นวิทยุ
ข. คลื่นไฟฟ้า
ค. โปรโตคอล
ง. สัญญาณคลื่นแม่เหล็ก
4. ระบบเครือข่าย ATM เป็นระบบแบบใด
ก. ระบบไร้สาย
ข. ระบบเคลื่อนที่
ค. ระบบแบบสวิตซ์
ง. ระบบเปิด ปิด
5. HEC (Header Error Check) ทำหน้าที่อะไร
ก. สำรวจข้อมูล
ข. จัดเก็บข้อมูล
ค. ตรวจสอบข้อมูล
ง. จัดส่งข้อมูล
6. ข้อใดคือสิ่งที่สามารถใช้ในเครือข่าย ATM
ก. สายโคแอคเชียล
ข. สายไฟเบอร์ออปติค
ค. สายไขว้คู่
ง. ถูกทุกข้อ
7. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติที่ดีของโปรโตคอล ATM
ก. ไม่มีการกำหนดเส้นทางข้อมูลตายตัว (วงจรเสมือน)
ข. ไม่มีความผิดพลาดในการลิงค์กันระหว่างสถานี
ค. ไม่สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงมากได้
ง. ใช้วงจรเสมือนทำให้การสวิตชิ่งมีความซับซ้อนน้อย และประหยัดซอฟต์แวร์ในการช่วยจัดเส้นทางข้อมูล8.การเชื่อมต่อแบบใด ถ้าเคเบิลอันหนึ่งอันใดมีปัญหาแล้ว จะทำให้ระบบมีปัญหาทั้งหมด
ก. BUS
ข. RING
ค. STAR
ง. BUS และ RING
9.ข้อใดเป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง สำหรับเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์
ก. HUB
ข. SWITCH
ค. ROUTER
ง. ถูกทั้ง ก.และ ข.
10. 255.255.255.0 จำนวน HOST คือ
ก. 256 host
ข. 254 host
ค. 252 host
ง. 250 host
เฉลย
1. ก. AAL1
2. ง. ถูกทั้ง ก. และ ข.
3. ค. โปรโตคอล4.
ค. ระบบแบบสวิตซ์
5. ค. ตรวจสอบข้อมูล6.
ง. ถูกทุกข้อ7.
ค. ไม่สามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็วสูงมากได้
8. ง.BUS และ RING
9. ง.ถูกทั้ง ก.และข.
10. ข.254 host
ข้อสอบ IPv4
1.IPv4 เป็นระบบที่ใช้กี่บิต
ก. 8 bit
ข. 16 bit
ค. 32 bit
ง. 64 bit
2.subnet mask ของ class A คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกทุกข้อ
3. subnet mask ของ class B คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกทุกข้อ
4. subnet mask ของ class C คือ
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. ถูกทุกข้อ
5.mask 3 bit class C ได้กี่ subnet
ก. 5 subnet
ข. 6 subnet
ค. 7 subnet
ง. 8 subnet
6.mask 3 bit class C ได้กี่ host/sub
ก. 20 host/sub
ข. 25 host/sub
ค. 30 host/sub
ง. 35 host/sub
7.mask 4 bit class C ได้กี่ subnet
ก. 11 subnet
ข. 12 subnet
ค. 13 subnet
ง. 14 subnet
8.mask 4 bit class C ได้กี่ host/sub
ก. 14 host/sub
ข. 15 host/sub
ค. 16 host/sub
ง. 17 host/sub
9.mask 5 bit class C ได้กี่ subnet
ก. 28 subnet
ข. 29 subnet
ค. 30 subnet
ง. 31 subnet
10.mask 5 bit class C ได้กี่ host/sub
ก. 9 host/sub
ข. 8 host/sub
ค. 7 host/sub
ง.6 host/sub
เฉลย
1. ค. 32 bit
2. ก. 255.0.0.0
3. ข. 255.255.0.0
4. ค. 255.255.255.0
5. ข. 6 subnet
6. ค. 30 host/sub
7. ง. 14 subnet
8. ก. 14 host/sub
9. ค. 30 subnet
10. ง. 6 host/sub
ข้อสอบ คำสั่งเบื้องต้น Linux,Unix
1.คำสั่งสำหรับการเปลี่ยนไดเร็คทอรี่
ก.ls
ข.cd
ค.pwd
ง.file
2.คำสั่งสำหรบการลบไฟล์
ก.mv
ข.rm
ค.chown
ง.mkdir
3.คำสั่งสำหรับสร้างไดเร็คทอรี่
ก.mv
ข.rm
ค.chown
ง.mkdir
4.คำสั่งสำหรับยกเลิก process
ก.ps
ข.kill
ค.fg
ง.bg
5.คำสั่งเปลี่ยนเจ้าของไฟล์
ก.ls
ข.pwd
ค.chown
ง.mv
6.คำสั่งแสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ
ก.ln
ข.env
ค.eject
ง.free
7.คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่าน User
ก.mount
ข.mt
ค.nice
ง.netstat
8.คำสั่งแสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี
ก.od
ข.pr
ค.df
ง.env
9.คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ
ก.tar
ข.bc
ค.Dd
ง.Du
10.คำสั่งไว้สร้างลิงค์ไปยังที่ต่างๆ
ก.ln
ข.jobs
ค.fgง.ftp
เฉลย
1.ข.cd
2.ข.rm
3.ง.mkdir
4.ข.kill
5.ค.chown
6.ง.free
7.ข.mt
8.ก.od
9. ข.bc
10. ก.ln
ระบบเครือข่ายเบื้องต้น (Fundamental Computer Networks)

ระบบเครือข่ายเบื้องต้น (Fundamental Computer Networks)

ระบบเครือข่ายหรือที่เราเรียกกันจนติดปากว่า LAN ( Local Area Network ) นั้นก็คือ การนำเอาเครื่องคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องมาเชื่อมต่อกัน เพื่อต้องการให้ เครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านั้น สามารถที่จะส่ง หรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ แล้วทำไมเราต้องใช้ระบบเครือข่ายละ ลองนึกดูว่าแต่ก่อนเรามีเครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง การทำงานต่าง ๆ ก็ยังคงอยู่ที่เครื่องเดียว แต่ในองค์กร หรือตามบ้านเองก็ตามแต่ หากมีเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องที่สองเพิ่มขึ้นมา ความต้องการในการ ที่จะต้องมีการนำข้อมูลจากเครื่องหนึ่ง มายังอีกเครื่องหนึ่งคงหนีไม่พ้น เป็นแน่ หาเป็นแรก ๆ ที่ยังไม่มีระบบเครือข่ายเข้ามาเกี่ยวข้อง ก็คงใช้ Diskette ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งสองเครื่อง และนั่นแหละคือความยุ่งยาก น่าเบื่อหน่าย และความไม่สะดวกต่าง ๆ ในการทำงาน ลองนึกภาพดูแล้วกันว่าหากว่าต้องการ Copy File ที่มีขนาดใหญ่กว่าความจุของแผ่น Diskette เราก็ไม่สามารถที่จะทำการ Copy ได้ และนั่นแหละ เขาก็เลยต้องหาวิธีการต่าง ๆ มาทำให้เครื่องสองเครื่องหรือมากกว่า สามารถที่จะส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โดยการนำเอาสายสัญญาณมาทำการเชื่อม ต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เหล่านั้นสามารถที่จะส่งสัญญาณหากันได้โดยผ่านระบบสายสัญญาณต่าง ๆ ที่นำมาเชื่อมต่อ และรูปแบบในการนำเครื่องคอมพิวเตอร์มาเชื่อมต่อนี้ก็มีหลายรูปแบบ และบางคนอาจจะสงสัยเกี่ยวกับคำว่า Ethernet คืออะไร เพราะว่าเป็นคำพูดที่ได้ยินบ่อย ๆ อธิบายนิดหนึ่งแล้วกัน คำว่า Ethernet เป็นคำเรียกที่ใช้เรียกระบบเครือข่าย ที่มีการส่งข้อมูลกันที่ความเร็ว 10Mbps ถ้าเป็นคำว่า Fast Ethernet ก็จะหมายถึงเป็นการส่งข้อมูล ของระบบเครือข่ายที่ความเร็ว 100Mbps และถ้าเป็นคำว่า Gigabit Ethernet ก็จะหมายถึงความเร็วในการส่งข้อมูลที่ 1000Mbps หรือ 1Gbps ซึ่งการส่งข้อมูลของระบบเครือข่ายในปัจจุบันนี้ใช้ โปรโตคอลที่เรียกว่า CSMA/CD (Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection) ปัจจุบันนี้ระบบเน็ตเวิร์ก หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งขององค์และองค์กร และสถาบันการศึกษาไปแล้ว การใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ทั้งไฟล์ เครื่องพิมพ์ การส่ง E-mail ภายในองค์กรหรือ ระบบอินทราเน็ต การเชื่อมต่อระยะไกลด้วยระบบ Remote Access การประชุมผ่านวีดีโอ (Video Conference) สิ่งเหล่านี่ต้องใช้ระบบเน็ทเวิร์กเป็นพื้นฐานในการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันทั้งสิ้น ระบบเน็ทเวิร์กจะหมายถึงการนำคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน เพื่อที่จะทำการแชร์ข้อมูล และทรัพยากรร่วมกัน ระบบเน็ทเวิร์กสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ด้วยกันคือ1. LAN ( Local Area Network )คือเครือข่ายเฉพาะกลุ่มที่มีขนาดเล็กๆ หรือระยะทำการไม่ไกลนัก เช่นเครือข่ายภายในออฟฟิศหรือสำนักงาน มีระยะทำการใกล้ๆ และมักเชื่อมต่อกันด้วยความเร็วสูง เครือข่ายนี่ยังถูกนำมาใช้เป็นเครือชข่ายในบ้านอีกด้วย2. MAN ( Metropolitan Area Network )ระบบเครือข่ายระดับเมือง เป็นเน็ทเวิร์กที่ต้องใช้โครงข่ายของการสื่อสารขององค์การโทรศัพท์หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นการติดต่อสื่อสาร กันในเมืองหรือในระดับ LAN to LAN3. WAN (Wide Area Network )เป็นเครือข่ายสำหรับเชื่อมต่อเครือข่ายย่อยๆ หรือเครือข่ายคนละชนิดที่อยู่ห่างไกลกันมากๆ เช่น คนละจังหวัด หรือคนละประเทศเข้าด้วยกัน ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดที่สุดคือเครือข่ายที่เรียกว่า "อินเตอร์เน็ท" นั้นเอง จะต้องใช้มีเดีย( Media ) ในการสื่อสารขององร์การโทรศัพท์ หรือการสื่อสารแห่งประเทศไทย (คู่สายโทรศัพท์ dial-up line/ คู่สายเช่า leased line/ISDN* )(* Integrated Service Digital Network สามารถส่งข้อมูลให้ทั้งข้อมูลเสียงและภาพ ในเวลาเดียวกัน)โครงสร้างของระบบเครือข่าย ภาษาเทคนิคเรียกว่า(Topology) เป็นลักษณะการเชื่อมต่อทางกายภาพระหว่างเครืองคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย ซึ่งแบ่งออกตามหลักวิชาการตั้งแต่สมัยก่อนนั้น แบ่งได้เป็น 4 แบบ คือโครงสร้างแบบบัส (Bus Topology)โครงสร้างแบบสตาร์ (Star Topology)โครงสร้างแบบวงแหวน (Ring Topology)โครงสร้างแบบผสม (Hybrid Topology)1. โครงสร้างแบบบัส (Bus Network) ลักษณะการเชื่อมต่อแบบนี้จะเป็นแบบอนุกรม โดยใช้สายเคเบิลเส้นเดียว ลากต่อกันไป ทำให้โครงสร้างแบบนี้มีจุดอ่อนก็คือเมื่อคอมพิวเตอร์ตัวใดตัวหนึ่งมีปัญหากับสายเคเบิล ก็จะทำให้เครื่องรวนไปทั้งระบบ ข้อดีของโครงสร้างแบบนี้ก็คือไม่ต้องมีอุปกรณ์อย่างเช่น ฮับ/สวิทช์ ใช้สายเพียงเส้นเดียวก็เพียงพอแล้ว โครงสร้างแบบนี้จึงเหมาะกับเครือข่ายที่มีขนาดเล็กที่มีจำนวนเครื่องไม่มาก และในปัจจุบันไม่นิยมใช้กันแล้ว เนื่องจากไม่ได้มีการพัฒนาอะไรเพิ่มเติมเลย ความเร็วก็เพียง 10 Mbps2. โครงสร้างแบบสตาร์ (Star Network) ลักษณะการเชื่อมต่อของโครงสร้างแบบสตาร์นี้ ดูไปแล้วจะคล้ายๆ ดาวกระจาย คือจะมีอุปกรณ์เช่น ฮับ หรือสวิทช์ เป็นศูนย์กลาง ซึ่งการเชื่อมต่อแบบี้มีประโยชน์คือ ถ้ามีสายเส้นใดเส้นหนึ่งหลุดหรือเสียก็จะไม่มีผลกระทบต่อการทำงานของระบบ นอกจากนี้ถ้าหากเราเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์เข้าไปอีกในเครือข่ายก็สามารถทำได้ทันที การต่อแบบนี้เป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน เนื่องจากอุปกรณ์ที่ใช้เป็นศูนย์กลางคือ ฮับ/สวิทช์ ราคาได้ถูกลงอย่างมากแล้วในขณะที่ประสิทธิภาพก็ได้เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จนในปัจจุบันเป็นความเร็วขนาดกิกาบิตแล้ว3. โครงสร้างแบบริง (Ring Network) ลักษณะการเชื่อมต่อจะเป็นลักษณะวงแหวน การส่งข้อมูลจะเป็นแบบทิศทางเดียว ซึ่งถ้าส่งไปแล้วไม่ตรงกับคอมพิวเตอร์เครื่องรับตามที่เครื่องต้นทางระบุมา ก็จะส่งไปยังเครื่องถัดไป จนกว่าจะถึงปลายทางคือตรงกับเครื่องใครก็จะรับ ไม่ส่งต่อ จุดอ่อนของระบบก็คล้ายๆแบบบัส ปัจจุบันผมยังเห็นใช้อยู่ในธนาคาร พวก Mainfram IBM AS/400 เป็นต้น4. โครงสร้างแบบผสม (Hybird Network) ลักษณะสุดท้ายของของโครงสร้างแบบนี้ก็คือการนำเครือข่ายๆ ย่อยๆ ที่มีโครงข่ายตามแบบที่ผมกล่าวข้างต้นทั้ง สามแบบมารวมกัน หรือ เชื่อมต่อกันให้มีขนาดใหญ่ขึ้น ลักษณะแบบนี้ยังมีชื่อเรียกเฉพาะอีกด้วย เช่น โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree หรือ Hierachical หรือ Mesh) ก็คือเครือข่ายผสมที่เกิดจากการนำเอาเครือข่ายที่มีโครงสร้างแบบบัสและแบบสตาร์มาผสมกัน หรือโครงสร้างแบบไร้รูปแบบ (Mesh) ซึ้งก็คือโครงสร้างแบบสตาร์ผสมกับบัสที่เชื่อมต่อกันแบบไม่มีโครงสร้างแน่นอน5. โครงสร้างเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless Network) ที่กล่าวมาทั้งหมดเกี่ยวกับโครงข่ายข้างต้นนั้น เป็นโครงสร้างที่ใช้กันสำหรับเครือข่ายแบบใช้สายแต่เนื่องจากปัจจุบันนี้มีเทคโนโลยีเครือข่ายแบบใหม่เกิดขึ้นมา ที่เรียกว่าเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless) จะใช้คลื่นวิทยุในการรับส่งข้อมูล จึงทำให้แตกต่างกันออกไป และโครงสร้างแบบนี้ได้แบ่งเป็น 2 แบบ คือ Peer-to-Peer และ Client Server นอกจากนี้ยังมีเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือหรือ Cellular Network ซึ่งจัดอยู่ในรูปแบบโครงสร้างแบบไร้สายด้วย ลักษณะจะคล้ายๆเป็นรูปรังผึ้งเทคโนโลยีของระบบเครือข่าย เป็นรูปแบบการสื่อสาร(Ethernet) ในระบบเน็ทเวิร์กหรือที่เราเรียกว่า โปรโตคอล(Protocal) ในระบบแลน ซึ้งในเนื้อหานี่ผมจะกล่าวถึงความหมายของมาตราฐาน IEEE และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Ethernet และ Protocal รวมทั้งความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอุปกรณ์เครือข่ายเบื้องต้นโปรโคตอลมาตรฐานสำหรับเครือข่ายIEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) และ EIA ( Electronics-Industries association) เป็นหน่วยงานสากลที่มีหน้าที่ในการกำหนดมาตรฐานของการออกแบบผลิตภัตณ์อิเล็กทรอนิกส์ กำหนดรูปแบบการสงสัญญาณ ฯ จะมีโปรโตคอลอยู่ 3 แบบ ด้วยกันคือARCnetEthernetToken Ring ARCnet เป็นโปรโตคอลที่ออกแบบโดยบริษัท Data Point ประมาณปี 1977 ( Attached ARCnet Resource Computing Network) ใช้หลัการออกแบบ "Transmission Permission" ในการส่งข้อมูล จำมีการกำหนดตำแน่งแอดเดรสของเครื่องเวิร์กสเตชั่นลงไปด้วย สามารถจะเชื่อมต่อได้ทั้งแบบ Bus และ Star มีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลเพียง 2.5 Mbps (2.5 เมกกะบิตต่อวินาที) ทำให้ไม่เป็นที่นิยมมากนักEthernetเป็นโปรโตคอลที่ออกแบบโดยปริษัท Xerox ประมาณปี 1970 ใช้หลักการทำงานแบบ CSMA/CD ( Carrier Sense Multiple Access With Collision Detection) ในการส่งแมสเซจไปบนสายสัญญาณของระบบเครือข่าย ถ้าหากมีการส่งออกมาพร้อมกันย่อมจะเกิดการชนกันของข้อมูล (Collision) ของสัญญาณทำให้การส่งผ่านข้อมูลต้องหยุดลงทันที CSMA/CS จะใช้หลักการวิธีของ Listen vefore-Transmiting คือ ก่อนจะส่งสัญญาณออกไปจะต้องตรวจสอบว่าในขณะนั้นมีการ รับ - ส่ง ข้องข้อมูลในเน็ทเวิร์กนั้นหรือไม่ ถ้ามีการชนกันของข้อมูล ต้องรอจนกว่าสายเคเบิ้ลนั้นจะว่างแล้วจึงทำการส่งข้อมูลนั้นออกไปบนสายเคเบิ้ล ระบบโปรโตคอล Ethernet นั้นเป็นมาตาฐานของ IEEE 802.3 สามารถจะเชื่อมต่อได้ทั้ง Bus และ Star โดยใช้สายโครแอ๊ก (Coaxial) หรือสาทองแดงคู่ตีเกลียว (UTP : unsheild Twisted Pair ) ที่มีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล 10 Mbps ในปัจจุบันได้พัฒนาความเร็วเป็น 100 Mbps มีความยาวสูงสุดระหว่างเรื่องเวิร์กสเตชั่น 2.0 กิโลเมตร ในการส่งผ่านสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ไปบนสายเคเบิ้ลจะใช้แบบ 0-1 ในการส่งผ่านไปบนสายเคเบิ้ล Ethernet มีรูปแบบการต่อสายเคเบิ้ล 3 แบบด้วยกันคือ 10 Bese T เป็นรูปแบบในการต่อสายที่นิยมมาก "10" หมายถึงความเร็วในการรับส่งข้อมูล (10 Mbps) "Base" หมวยถึง ลักษณะการส่งข้อมูลแบบ Base band ซึ่งเป็นดิจิตอล และ T หมายถึง Twisted Pair (สายทองแดงคู่ตีเกลียว) ปัจจุบันจะใช้สาย UTP ( Unshield Twisted Pair ) ซึ่งจะเป็นสายที่มีขนาดเล็กๆ ถายใน 8 เส้นตีเกลียวคู่กัน 4 คู่ 10 Base 2 เป็นรูปแบบในการต่อสายโดยใช้สาย Coaxial มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1/4 นิ้ว เรียกว่า Thin Coaxial สายมีความยาว ไม่เกิน 180 เมตร 10 Base 5 เป็นรูปแบบในการเชื่อมต่อโดยใช้สาย Coaxial ขนาดใหญ่ จะมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1/2 นิ้ว เรียกว่าสาย Thick Coaxial การเชื่อมต่อในแต่ล่ะจุดจะมี Transceiver เป็นตัวเชื่อมต่อ และใช้สาย AUI เชื่อมระหว่างเครื่องเวิร์กสเตชั้น สายมีความยาวไม่เกิน 500 เมตร Token Ring เป็นโปรโตคอลที่ออกแบบโดยบริษัท IBM ใช้มาตรฐานของ IEEE 802.5 มีระบบการติดต่อแบบ Token-Passing สามารถจะเชื่อมต่อได้แบบ Ring และ Star มีความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล 4/16 Mbps นอกจากนี้ยังสามารถที่จะเชื่อมต่อเข้ากับฮาร์ดแวรืและซอร์ฟแวร์ของเครื่องเมนแฟรมได้โดยตรง จากปัญหาที่เกิดการชนกันของข้อมูล (Conllision) ทำให้ IBM หันมาใช้สัญญาณ Token เพื่อการติดต่อระหว่าโหนด นอกจากนี้ยังมีเทคโนโลยีในได้ถูกพัฒนาให้มีความสามารถมากกว่าการทำงานในระบบแลนจากที่กล่าวมาในข้างต้นก็คือ ไฟเบอร์ออฟติก และ เอทีเอ็มFDDI (Fiber Distributed Data Interface) FDDI (Fiber Distributed Data Interface) เป็นเทคโนโลยีเครือข่ายที่ได้รับความนิยมไปใช้งานสูงเพิ่มขึ้นในปัจจุบัน โดยนำไปใช้ในลักาณะการเชื่อมต่อเป็น Backbone ( ใช้เป็นสายสัญญาณหลักเชื่อมระหว่างเครือข่าย LAN) เทคโนโลยีนี้สามารถให้ความเร็วในการรับ/ส่งข้อมูลสุงถึง 1000 Mbps จึงมักใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่เข้ากับคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วสูงATM (Asynchronous Transfer Mode) ATM (Asynchronous Transfer Mode) เป็นเทคโนโลยีเน็ทเวิร์กความเร็วสูงที่พัฒนาโดย (CCITT Consultative Committee for Internation Telegraph and Telophone) ประมาณปลายปี 1991 จะใช้เส้นใยแก้วนำแสง (Fiber Optic) ในการทำงานเหมือนกับ FDDI แต่ ATM ใช้หลักการสวิตชิงในการทำงานมีแบนวิธสูง ถูกออกแบบมาสำหรับงานด้สนสารสนเทศในการขนส่งช้อมูลและเสียงที่ขนาดเล็กว่าเซลล์ข้อมูลจะมีส่วนหัวของเซลล์ คือ 5 ไบต์ หรือ 40 บิต ส่วนข้อมูลที่จะส่งอีก 48 ไปต์รวมเป็น 53 ไบต์ เท่านั้น เซลล์จะมีอยู่สองกลุ่มด้วยกันคือ UNI (User Network Interface) ใช้ในการ เชื่อมต่อกับผู้ใช้ และ NNI (Network Node Interface) ใช้ในการเชื่อมต่อกับโหนด ATM สามารถจะใช้งานได้ทั้งบนระบบ LAN และ WAN มีอัตราความเร็วขนาด 25 - 155 Mbps หรือมากกว่านี้ Hub หรือ Concentrator ที่ใช้งานบนระบบ ATM จึงเป็นสวิตท์ที่มีความเร็วสูงเพื่อให้สามารถส่งข้อมูลได้แบบ Real time ได้ดี เทคโนโลยี ATM เทคโนโลยี ATM จึงเป็นคู่แข่งของ FDDI ในระบบเน็ทเวิร์ความเร็วสูง
แหล่งที่มา
ระบบเครือข่ายเบื้องต้น (Fundamental Computer Networks)Question: ระบบเครือข่ายเบื้องต้น (Fundamental Computer Networks). > ระบบเครือ ข่ายเบื้องต้น (Fundamental Computer Networks). Slide15_resize.GIF ...www.easyzonecorp.net/network/view.php?ID=185 - 27k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน
Windows Server2003วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 (Windows Server 2003)เป็นระบบปฏิบัติการเซิร์ฟเวอร์จากไมโครซอฟท์ เป็นรุ่นที่ถัดจากวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2000 วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ได้ออกวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2547 ซึ่งนับเป็นหนึ่งผลิตภัณฑ์ของ Windows Server System ภาพรวมวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์เป็นระบบปฏิบัติการแรกที่ออกมาหลังจากไมโครซอฟท์ประกาศแนวทาง Trustworthy Computing จึงเป็นผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องความปลอดภัย โดยเน้นความปลอดภัยเป็นหลัก เช่นหลังจากการตั้งแต่ติดตั้งเสร็จนั้น ไม่มีส่วนประกอบเซิร์ฟเวอร์ที่เปิดการใช้งานเพื่อลดช่องทางโจมตีตั้งแต่แรกเริ่ม และได้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากใน IIS 6.0 โดยเกือบเขียนขึ้นมาใหม่หมด เพื่อเพิ่มความปลอดภัยประสิทธิภาพการทำงานในปีพ.ศ. 2548 ไมโครซอฟท์ได้ประกาศ วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ "ลองฮอร์น" ซึ่งจะเป็นรุ่นต่อจากวินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2003 โดยมีกำหนดการที่จะออกครึ่งปีแรกใน พ.ศ. 2550วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ได้แบ่งเป็นรุ่นดังนี้:Windows Small Business Server 2003Windows Server 2003 Web EditionWindows Server 2003 Standard EditionWindows Server 2003 Enterprise EditionWindows Server 2003 Datacenter EditionWindows Compute Cluster Server 2003
แหล่งที่มา
วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 - วิกิพีเดียวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 (Windows Server 2003) เป็นระบบปฏิบัติการเซิร์ฟเวอร์จาก ไมโครซอฟท์ เป็นรุ่นที่ถัดจากวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2000 วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 ...th.wikipedia.org/wiki/วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์_2003 - 58k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกันIP

AddressIP Address คือ หมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด มีเครื่องหมายจุดขั้นระหว่างชุด เช่น 192.168.100.1 หรือ 172.16.10.1 เป็นต้นมาตรฐานของ IP Address ปัจจุบันเป็นมาตรฐาน version 4 หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า IPv4 วึ่งกำหนดให้ ip address มีทั้งหมด32 bit หรือ 4 byte แต่ล่ะ byte จะถูกคั่นด้วยจุด (.) ภายในหมายเลขที่เราเห็นยังถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วนดังนี้1. Network Address หรือ Subnet Address2. Host Addressบนเครื่อง computer ที่ใช้ TCP/IP Protocol จะมีหมายเลข IP Address กำกับอยู่ address นี้ เป็นอยู่ใน Layer 3 ของ OSI model ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา (Logical address) และบนเครื่อง computerไม่ว่าจะใช้ Protocol ใด ๆ ก็ตามจะต้องมีหมายเลข ที่เรียกว่า MAC Address ประจำอยุ่ที่ Network card เสมอ MAC Address นี้เป็น Hardware Address ที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เว้นแต่จะเปลี่ยน Network card
แหล่งที่มา
IP Address - WEBMAIL @NRCTIP Address คือหมายเลขประจำเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด ... เครือข่าย Class A สามารถแจกจ่าย IP Address ได้มากที่สุดถึง 16 ล้านหมายเลข ...mail.nrct.go.th/index.php?option=com_content&task=view&id=90&Itemid=123 - 46k