วันจันทร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คำสั่งเบื่องต้น Linux,Unix

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์
1. Ls แสดงรายชื่อแฟ้มในห้องปัจจุบัน หรือห้องอื่นที่ต้องการ
2.Cd ใช้สำหรับการเปลี่ยนไดเร็คทอรี่
3.pwd ใช้สำหรับการแสดงชื่อไดเร็คทอรี่ปัจจุบัน
4.file ใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล
5.Mv เป็นคำสั่งสำหรับการเปลี่ยนชื่อไฟล์หรือไดเร็คทอรี่
6.Mkdir ใช้สำหรับสร้างไดเร็คทอรี่
7.Rm คำสั่งสำหรับการลบไฟล์
8.Rmdir เป็นคำสั่งสำหรับการลบไดเร็คทอรี่
9.Chown เป็นการเปลี่ยนเจ้าของไฟล์
10.Chgrp เป็นการเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของไฟล์
คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส
1.Ps แสดง Process หรือโปรแกรมที่ประมวลผลอยู่ในระบบขณะนั้น. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบ ติดตามได้ว่ามีโปรแกรมอะไรที่ไม่ถูกต้อง run อยู่ หรือโปรแกรมอะไร
2.Kill เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process
3.Fg เป็นทางที่สามในการส่ง Signals ให้แก่ process โดยการใช้ kill system call ซึ่งเป็นวิธีในการส่ง signal จาก 1 process ไปยังที่อื่น ๆ โดยสามารถใช้ได้ทั้ง “kill command” หรือ “fg command” ก็ได้ โดยต้องมีการ include signal.h ด้วย จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ได้เช่น kill เป็นต้น ซึ่ง process จะหยุดการทำงานของตัวเองโดย การส่ง PID ตัวเองไปให้ฟังก์ชัน ใน signal.h จัดการ ดังตัวอย่างการเรียกใช้ฟังก์ชัน kill ในโปรแกรม
4.Bg
5.Jobs (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่าน ข้อมูลของ Firewall)
คำสั่งสำรองข้อมูล
1.Tar เป็นคำสั่งเพื่อการ backup และ restore file
2.Gzip ใช้ zip หรือ Unzip ไฟล์ packet โดยมากแล้วจะเป็น .tar เช่น$ gzip filename.tar ผลที่ได้จะได้ไฟล์ซึ่งมีการ zip แล้วชื่อ filename.tar.gz$ gzip -d filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar
3.Gunzip เป็นคำสั่งสำหรับขยายไฟล์ที่ถูกบีบอัดให้มีขนาดเท่าเดิม รูปแบบ: gunzip
คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร
1.telnet ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน
2.ftp เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดังนั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory ชื่อ pub
3.lynx เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ซึ่งทำงานด้วยข้อความล้วน ๆ ไม่สามารถแสดง รูปภาพได้ เริ่มต้นใช้งานด้วยการล้อกอินเข้าระบบด้วยยูสเซอร์
4.mesg จะใช้เพื่อควบคุมว่าผู้อื่นมีสิทธิที่จะส่งข้อความ write ถึงเราหรือไม่. โครงสร้างคำสั่ง
5.ping เป็นคำสั่งพื้นฐานในการตรวจสอบการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องส่งและ เครื่องรับ โดยจะส่งข้อมูลหรือแพ็คเกจขนาด 32K
6.write ใช้เพื่อการส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับบนเครื่องเดียวกันเท่านั้น
คำสั่งอื่นๆ
1.At ตั้งเวลารันกลุ่มคำสั่ง
2.Cpio ต้องการชื่อเต็ม (full pathname) ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทำการอ้างชื่อ ไดเรกทอรีปลายทางแบบ relative
3.Bc เรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linux
4.Basename เป็นคำสั่งสำหรับสกัดเอาชื่อไฟล์ไฟล์โดยตัดส่วนขยายชื่อไฟล์ (file extension) .gif ออก
5.Last ใช้แสดงรายชื่อผู้ login เข้ามาล่าสุด
6.Crontab ตั้งเวลาสั่งงานคอมพิวเตอร์ crontabตั้งเวลารันคำสั่งเป็นรอบเวลาที่กำหนด
7.Dd ลบบรรทัดปัจจุบันทั้งบรรทัด
8.Du แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด duเป็นการดูเนื้อที่ว่างบนไดเรคทรอรี่ที่ใช้อยู่
9.Dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname
10.Ln เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut
11.Env แสดงค่า environment ปัจจุบัน
12.Eject เป็นคำสั่งให้นำคำสั่งที่ตามหลังคำสั่งeject ไปขึ้นหน้าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละส่วนของโปรแกรมใหญ่ๆ ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนคำสั่ง ejectจะไม่ปรากฏใน Assembly Listing
13.Exec ที่ใช้ในการแทนค่าตัวแปรแล้วรันคำสั่งแบบพลวัต (dynamicly) บันทึกพฤติกรรมของ exec ไว้
14.Free แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง free [-b-k-m] โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ -b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte -k แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย kilobyte -m แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย megabyteตัวอย่าง free free -b free -k freeเป็นการแสดงสถานะของเมมโมรี่ และเนื้อที่ว่างบนเมมโมรี่ ทั้งกายภาพ ที่ใช้ ใน swap, และบัฟเฟอร์
15.Groups
16.Hostame แสดง/กำหนดชื่อโฮสต์ คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่
17.Lp
18.Mount เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ
19.Mt คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux ... คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อ ของ
20.Nice คำสั่งหรือโปรอกรมเข้าสู่เครื่อง ติดต่อ nice หรือ ติดต่อผู้บริหารเว็บไซต์ + Powered by KnowledgeVolution
21.Nohup
22.netstat แสดงสถานะของเครือข่ายว่ามีโปรแกรมใดเปิดให้บริการ
23.Od แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่
24.Pr คือส่วนหนึ่งของภาษา HTML. คุณสามารถใช้ BBCode ในข้อความที่คุณพิมพ์. และคุณสามารถยกเลิกการใช้ BBCode ในแต่ละข้อความได้ในแบบฟอร์มกรอกข้อความ. BBCode มีรูปแบบคล้ายๆกับภาษา HTM
25.Df เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์
26.Printf รับค่าตัวแรกเป็นข้อความที่จัดรูปแบบการแสดงผล และรับรายการของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลถัดไป.รูปแบบการแสดงผลจะถูกระบุโดยเครื่องหมาย % ตามด้วยอักษรแสดงรูปแบบ. ในกรณีนี้ %d ระบุว่าเราจะพิมพ์ตัวเลขฐานสิบ
27.Df เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์
28.printenv คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม. ตัวอย่าง:. -เซ็ตค่าตัวแปรสภาพแวดล้อม. จะใช้คำสั่ง ‘setenv’
29.Pg เป็นคำสั่งใช้แสดง content ของไฟล์ ทั้งหมดทีละจอภาพ ถ้าต้องการแสดงหน้า ถัดไป ต้องกด แป้น enter; รูปแบบ. pg filename
30.Quota
31.rlogin ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin. rsh. ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)

วันพุธที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คู่มือการใช้
ADOB BE CAPTIVATE 3.0

ขั้นตอนการติดตั้ง
1. ปิดโปรแกรมที่เปิดใช้งานต่างอยู่
2. เลือกโปรแกรมจากแผ่น CD หรือจาก Folder ที่มีโปรแกรม
ในชุดโปรแกรมที่ติดตั้งจะมีไฟล์ที่สำคัญอยู่ด้วยกันคือ Adobe_Captivate_3_WWE และ Keygen
3. เมื่อติดตั้งให้ดับเบิลคลิกที่ไฟล์ Adobe_Captivate_3_WWE.exe
4. คลิก Run เพื่อแตกไฟล์ที่บีบอัดมา
5. เมื่อคลิด Next ก็จะขยายไฟล์ไปยังตำแหน่งที่กำหนด6. ให้รอในขณะที่กำลังแตกขยายไฟล์7. คลิก Next เพื่อเริ่มติดตั้งโปรแกรม8. คลิก Accept เพื่อยอมรับข้อตกลง และติดตั้งโปรแกรม
9. คลิก Next เมื่อไม่ต้องการเปลี่ยน Folder ที่ติดตั้ง
10. คลิก Install ติดตั้งโปรแกรม11. ให้รอจนกว่าจะเสร็จ
12. การติดตั้งโปรแกรมเสร็จสิ้น13. ส่วนไฟล์ keygen.exe จะเป็นไฟล์ของ serial key ให้ดับเบิลคลิกเพื่อหา serial key
14.เมื่อต้องการ Serail ให้คลิกที่ Serial Number
15. คัดลอก Serial Number ที่ได้จากไฟล์ Keygen
16. เมื่อ Serial Number ถูกต้อง ให้คลิก Next17. Copy Activation Number ไปวางใน Keygen คลิกAuthorization Code18. Copy Authorization Code ไปวางในช่องAuthorization Code แล้วคลิก Activate19. Activate เสร็จแล้วคลิก Done20. ไม่ต้องลงทะเบียนให้คลิกที่ Register Later ก็จะเสร็จสมบาณ์ในการติดตัง้ส่วนประกอบหน้าจอแรกของโปรแกรม Adobe Captivate
Open a recent project แสดงไฟล์ล่าสุดที่เคยบันทึกไว ในโปรแกรม เปิดไฟล์ที่เคยบันทึกไว
Record new project (สำหรับการเริ่มต้นใช้งานแนะนำให้ใช้งานตรงส่วนนี้) สำหรับสร้าง project
บันทึก movie (จับหน้าจอภาพ)Getting started tutorials แนะนำขั้นตอนการสร้าง Project ด้วยโปรแกรม Adobe Captivate เริ่มตั้งแต่การบันทึก การแก ไขตกแต่ง การส่งออก การนำเข้าไฟล์เสียงการสร้างส่วน ตอบโต้ การใส่ลูกเล่นเพื่อเพิ่มความน่าสนใจ ตามลำดับเริ่มต้นใช้งาน Adobe Captivate 3.0
เป็นที่ทราบกันแล้วว่าจุดเด นของโปรแกรม Adobe Captivate 3.0 มีความสามารถในการ สร้างMovie ได้หลากหลายรูปแบบ เริ่มแรกให้คลิกที่ Record or create a new project จะ ปรากฏหน้าต่าง ewproject options
10. Software Simulation หมายถึงว่าจะเป็นการจำลองการจับหน้าจอภาพตามที่เรากระทำ โปรแกรมจะ
ทำการเก็บภาพหน้าจอตามที่เรากระทำกับ Mouse หรือกระทำอื่นใดกับจอภาพ ในส่วนที่โปรแกรมให้เรา
เลือกจากรายการที่กำหนด มีหลัก การทำงาน ดังนี้
- Application สำหรับการ Capture movie ทั้งหน้าจอภาพ ของโปรแกรมที่เรา ต้องการจะทำการ
บันทึกการทำงานของหน้าจอ
- Custom size สำหรับการ Capture movie แบบกำหนดขนาดหน้าจอภาพได้
- Full Screen สำหรับการ Capture movie ทั้งหน้าจอภาพ
การสร้างผลงานสื่อการเรียนการสอนด้วยโปรแกรม Captivate รวมถึงการสร้าง Movies ควรเริ่มต้นโดย
วางแผนการสร้างภาพเคลื่อนไหว (Movie) โดยออกแบบ Storyboards, Scripts หรือใน รูปแบบอื่น
ตั้งค่าเริ่มต้นการใช้งานในการจับจอภาพเคลื่อนไหว (Movie preferences)บันทึกภาพเคลื่อนไหว ที่กระทำกับจอภาพ การคลิกกับวัตถุใด ๆ บนจอภาพ โปรแกรมจะ บันทึกไว1 สไลด์ ในการคลิกแต่ละครั้ง หรือจะนำเข้าไฟล์ภาพเคลื่อนไหวก็ได้ เพิ่มข้อความ รูปภาพ เสียง ข้อความเคลื่อนไหว และรายละเอียดส่วนอื่น ๆ แก ไขปรับปรุง Timeline ทดลองดูภาพเคลื่อนไหวที่สร้างขึ้น
11. กำหนดเงื่อนไขในการสร้าง E-Learning และสร้างสไลด์คำถามใน (เติมคำในช่องว่าง, แบบเหมือน,
จับคู , ตัวเลือก, ตอบสั้นๆ ,ถูกผิด)
เลือกจัดเก็บรูปแบบในการเผยแพร (Publish)
จัดเก็บและเผยแพร ในลักษณะไฟล์ฟอร์แมต EXE
จัดเก็บและเผยแพร ในลักษณะไฟล์ฟอร์แมต Flash และ เรียกใช้โดย HTML
จัดเก็บและเผยแพร ในลักษณะไฟล์ฟอร์แมต zip เพื่อใช่เป็น SCORM
จัดเก็บและเผยแพร ในลักษณะไฟล์ฟอร์แมต Word หรือ Handout (คู มือการใช้ งาน)
จัดเก็บและเผยแพร ไปบนเว็บไซต์ ด้วย FTP ส่ง Movie โดยใช้ E-mail
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Adobe Captivate 3.0 Step by Step
Step 1 คลิกที่ Record or create a new project
Step 2 จะปรากฏหน้าต่าง New movie options ให้คลิกที่ Record or create a new project
12. เมนูการใช้งาน New Project OptionsSoftware Simulation ใช้สำหรับจับภาพการเคลื่อนไหวของหน้าจอภาพ แสดงออกมา ในรูปแบบของสถานการณ จำลองApplication สำหรับการจับภาพของหน้าต่างที่เปิดใช้งานอยู่ (Active window) Custom size สำหรับการจับภาพหน้าจอที่กำหนดขนาดของขอบเขตได้ Full Screen สำหรับการจับภาพทั้งจอภาพDemonstration หมายถึง โปรแกรมจะจับหน้าจอตามการกระทำที่เกิดขึ้น มีการ เคลื่อนไหวของเมาส์ มีกรอบโต้ตอบกับผู้เรียนAssessment Simulation โปรแกรมจะบังคับให้ผู้เรียนกระทำตามที่ได้บันทึกหน้าจอไว เช่นถ้ามีการบันทึกการคลิกเมาส์ไว เมื่อเล่นมาจนถึงช่วงที่ต้องคลิกเมาส์โปรแกรมจะหยุด เล่นจนกว่าจะมีการคลิกเมาส์และหากคลิกผิดที่จะมีกล่องข้อความขึ้นมาบอกว่าต้องคลิก ที่ใด เมื่อผู้เรียนคลิกเมาส์ถูกต้อง โปรแกรมจะเล่นต่อไปจนกว่าจะมีเหตุการณ ใหม่เกิดขึ้น
Training Simulation หมายถึงการจับหน้าจอแบบการฝึกอบรม โปรแกรมจะทำการบันทึก หน้าจอ
ทั้งหมด เมื่อมีการเล่นโปรแกรมจะแสดงกล่องข้อความโต้ตอบให้ผู้เรียนทำตาม การบันทึกหน้าจอแบบนี้
เหมาะสำหรับสอนการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทั้งนี้สามารถ บันทึกเสียงบรรยายไปพร้อมกันได้ด้วย
Custom โปรแกรมจะให้เราเข้าไปกำหนดค่าในการบันทึกได้ด้วยตนเองและสามารถแก ไข ได้อีกใน
ภายหลังการ Capture movie หน้าจอภาพเป็นการใช้งานที่น่าสนใจมากทีเดียว เพราะสามารถ นำไปใช้เป็นสื่อเรียนรู แบบมัลติมีเดีย ที่ดึงดูดความสนใจได้เป็นอย่างดี ซึ่งขั้นตอนการ
Capture movie หน้าจอภาพทำได้ดังนี้
1. คลิก Start, Programs, Macromedia, Adobe Captivate
2. คลิก Record or create a new movie จะปรากฏหน้าต่าง New movie options
3. คลิก Full screen เพื่อ Capture movie ทั้งหน้าจอภาพ
4. คลิก OK
Monitor แสดงสถานะจอภาพที่กำลังใช้งาน
Record narration เป็นการบันทึกเสียงบรรยายพร้อมๆ กับการ Screen capture movie
Recording size บอกขนาดการ Capture movie หน้าจอภาพ
Options… เป็นการปรับแต่งเพิ่มเติม ปกติจะใช้ค่าที่โปรแกรมกำหนดมาให้
Record เมื่อกดปุ่มนี้จะเป็นการเริ่มบันทึกการ Capture movie หน้าจอภาพ
5. คลิกปุ ม Record เพื่อเริ่มบันทึก การ Capture movie หน้าจอภาพ
6. กดปุ ม บนแป้นพิมพ์เมื่อสิ้นสุดการ Capture
7. ปรากฏสไลด์ Movie (Movie Frame) ซึ่งจำนวนสไลด์จะขึ้นอยู่กับจำนวนครั้งที่คลิก เมาส์
เช่น หากมีการคลิกเมาส์ 10 ครั้งก็จะได้จำนวนสไลด์เท่ากับ10 สไลด์ หรือ 10 เฟรม สไลด์
Movie (Movie Frame)
8. คลิกปุ ม Edit เพื่อแก ไขสไลด์
9. การปรับแต่ง Timelineปกติแต่ละสไลด์จะมีค่า Timeline อยู่ที่ 4 วินาที ในรูปข้างล่างจะเป็น Slide 4(4.0s)สามารถปรับแต่งเพิ่มหรือลดค่า Slide Timeline ได้วัตถุที่วางบนสไลด์จะวางเรียงกันเป็นเลเยอร์(Layer) ถ้าต้องการปรับแต่ง Timeline วัตถุ
ใดก็ให้คลิกที่วัตถุนั้นแล้วลากซ้ายขวาคลิกแล้วลากเพื่อปรับแต่ง Timeline โปรแกรมจะสร้าง
ข้อความให้อัตโนมัติ สามารถดับเบิลคลิกเพื่อแก ไขข้อความได้
10. การแก ไขข้อความในสไลด์ปกติโปรแกรมจะสร้างข้อความในสไลด์ให้อัตโนมัติ เราสามารถแก ไขข้อความได้ โดยดับเบิลคลิกแล้วแก ไขข้อความ ดังรูปข้างล่างเมื่อต้องการแก้ไขข้อความภายใน Text Caption ให้ดับเบิลคลิกก็จะสามารถแก้ไขข้อความได้11. การลบสไลด์การลบสไลด์ทำได้โดยคลิกสไลด์ที่ต้องการลบ แล้วกดปุ ม บนแป้นพิมพ์12. การเพิ่มสไลด์ จุดประสงค์เพื่อทำสไลด์ไตเติล
การเพิ่มสไลด์ทำได้โดยคลิกที่เมนู Insert, Blank Slide หลังจากเพิ่มสไลด์เราก็ สร้าง Text
animation เป็นสไลด์ไตเติลก่อนที่จะเข้าเนื้อหาเมื่อได้ Slide แล้วให้นำขึ้นไปเป็นสไลด์แรก แล้วจึงแทรก Text animation13. การใส่สีพื้นหลังให้กับสไลด์การใส่สีพื้นหลังให้กับสไลด์ทำได้โดยคลิกที่เมนู Slid, Properties…เลือกสีพื้น หลัง สีพื้นหลังที่เลือก Text animation
14. การดูผลงานสไลด์ Movieการดูสไลด์ Movie ทำได้โดยคลิกที่ปุ ม Preview เช่นเลือก Preview In Web rowserสไลด์จะโชว์เป็นภาพเคลื่อนไหวตามลำดับสไลด์ เมื่อดูผลงานเสร็จแล้วให้คลิกปุ ม Close แล้วบันทึกไฟล์เก็บไว เพื่อแก ไขใน ภายหลัง15 การบันทึกไฟล์โปรแกรม Adobe Captivateการบันทึกไฟล์โปรแกรม Adobe Captivate คือการเก็บ ไฟล์ที่เราสร้างไว เพื่อประโยชนสำหรับการแก ไขในภายหลัง โดยโปรแกรม Adobe Captivate มีนามสกุลไฟล์ *.CP โดยวิธีการบันทึกให้ ไปที่เมนู File, Save หรือคลิกปุ ม Save บน Main Tools Bar
การสร้างงานด้วย Blank Project
คู่มือการใช้ Adobe Captivate 3.0
การสร้าง Blank Project เมื่อตกลงจะได้หน้าใหม่ให้ตั้งค่าต่างดังนี้
User defined กำหนดขนาดตามความต้องการ เช่น ตัวอย่างเลือกขนาด 800 x 600
Preset size กำหนดขนาดตามความละเอียด (Resolution) ของจอภาพ
การสร้าง Movie ด้วยวิธีนี้จะอาศัยเครื่องมือที่อยู่ด้านล่างช่วยสร้างเครื่องมือที่สำคัญที่นิยมใช้กันดังนี้การสร้าง Text Animationคลิกที่ Object Tools ที่ชื่อ Text Animation ปรากฏหน้าต่าง New text Animation เลือก TextAnimation
แทรก Flash Vedio จัดตำแหน่ง
แทรก Animation
แทรก Rollover image เมาส์ผ่านเกิดเป็นภาพ
แทรกภาพ
แทรก Text Animation
แทรกปุ่มบังคับในสไลด์
แทรก Click Box คลิกตำแหน่งภาพ
แทรก Text Emtry การเติมคำในช่องว่าง
แทรก Zoom Area ขยายพื้นที่ต้องการ
แทรก Rollover slidelet
แทรก Rollover caption เมื่อเมาส์ลากผ่านตำแหน่งที่กำหนดจะมีข้อความเกิดขึ้น
แทรก caption คือการแทรกตัวหนังสือ
Effect เลือกรูปแบบการแสดงผลข้อความ
Text พิมพ์ข้อความที่ต้องการ
Change font… เปลี่ยนรูปแบบ ขนาด หรือสีของตัวอักษร20ค่าของ Optionsค่าของ Audio
การสร้าง Caption หรือสร้างหนังสือทั่วไปเมื่อสร้างสไลด์ใหม่แล้ว คลิกที่ Object Tools ที่ชื่อ Caption ปรากฏหน้าต่าง New text CaptionTiming กำหนดเวลาการแสดงผลของ MovieLoop คลิกถูกที่ Loop กำหนดให้เล่นวนซ้ำTransition กำหนด Effect ในการเปลี่ยนฉากแต่ละสไลด์ (Frame)Record new… กำหนดการบันทึกเสียงจากไมโครโฟนImport… นำเข้าไฟล์เสียง เช่น MP3, WAVSettings การกำหนดค่าของเสียงที่บันทึก เลือกไมโครโฟนCaption type กำหนดลักษณะรูปแบบของCaptionFont…รูปแบบตัวหนังสือส่วนค่า option และ Audio จะมีลักษณะพื้นที่พิมพ์ตัวหนังสือ เหมือนกับ การสร้าง text Animation21การสร้าง Rollover Captionเป็นการสร้างหนังสือในรูปแบบที่เมื่อแสดงผลโดยการลากเมาส์ผ่านจุดที่กำหนดจึงจะปรากฏหนังสือออกมาให้เห็น เริ่มสร้างโดยคลิกที่ Object Tools ที่ชื่อ Rollover Caption ปรากฏหน้าต่าง RolloverCaptionการสร้างปุ่มควบคุมโดยคลิกที่ Object Tools ที่ชื่อ Button ปรากฏหน้าต่างการแทรก Text EntryText Entry ใช้แทรกเพื่อทำกิจกรรมในระหว่างเรียนหรือเป็น
การทดสอบความสามรถของนักเรียนซึ่งเป็นการเติมคำในช่องว่าง มีขั้นตอนดังนี้
1. สร้างคำถามด้วย Caption
2. เลือกไอคอน Text Entry บนจอภาพจะเกิดกรอบโต้ตอบใหม่ขึ้นมา
3. เลือกตำแหน่งแล้วปรับ Text Entry ให้เหมาะสม
4. เปลี่ยน Type success text here โดยดับเบิลคลิก แล้วเป็น ถูกต้อง
5. เปลี่ยน Type failure text hereโดยดับเบิลคลิก แล้วเป็น ผิดให้ตอบใหม่
6. แทรก Bottom ควบคุม
7. จัด Time Line ให้เหมาะสมข้อความที่ปรากฏในช่องคำตอบที่ถูกตกลง
การแทรกรูปภาพ (image)
เมื่อเลือกรูปภาพแล้วถ้าหากภาพมีขนาดใหญ่จะมีหน้าต่างให้ Crop รูปภาพ .ให้ได้ขนาดพอดีกับ
พื้นที่ที่กำหนด ถ้าเลือก Resize จะทำให้ขนาดของภาพปรับลดขนาดลงให้พอดีกับพื้นที่กำหนดการทำ Click BoxClick Box เป็นการทำที่เกี่ยวกับภาพและคำถามที่เกี่ยวข้องกับภาพเพื่อเป็นการฝึกให้นักเรียน
ทดลองทำหลังจากที่เรียนผ่านไป โดยการคลิกที่ภาพตามคำถามที่กำหนดให้ มีขั้นตอนในการสร้างดังนี้
1. แทรกรูปภาพที่ต้องการทดสอบความรู้ของนักเรียน ด้วยไอคอน Image
2. แทรกคำถามด้วยไอคอน Caption
3. เลือกไอคอน Click Box บนจอภาพจะเกิดกรอบโต้ตอบ
4. ปรับตำแหน่งที่ต้องการให้คลิกเมาส์ที่ที่ตำแหน่งที่ถูกต้อง5. เปลี่ยน Type success text here โดยดับเบิลคลิก แล้วเป็น ถูกต้อง
6. เปลี่ยน Type failure text hereโดยดับเบิลคลิก แล้วเป็น ผิดให้ตอบใหม่
7. แทรก Bottom ควบคุม
8. จัด Time Line ให้เหมาะสม
การแทรกแบบทดสอบ
คลิกเมนู insert, Slide จะปรากฏหน้าต่าง Question Slide รูปแบบการ Question Slideรูปแบบการ Question Slideชนิดของแบบทดสอบที่โปรแกรมกำหนดให้มีหลายรูปแบบสามารถที่เลือกได้ตามความเหมาะสมในการสร้างบทเรียน เมื่อเลือกแบบทดสอบแล้วให้กดปุ่มสร้างแบบทดสอบ ก็จะได้หน้าต่างใหม่สำหรับสร้างกำหนดให้ถูกข้อเดียวหรือหลายข้อกำหนดให้เป็น A B C หรือ a b cกำหนดรายละเอียดข้อสอบการกำหนดรายละเอียดข้อสอบเพื่อนำออกไปใช้ประโยชน์ต่อไปการส่งออก (Publish) ไฟล์ *.CP
1. เปิดไฟล์ *.CP ที่เคยสร้างไว แล้ว
2. คลิกเมนู File, Publish จะปรากฏหน้าต่าง Publish รูปแบบการ Publish
ตัวอย่างนี้เลือก Publish เป็น Flash (SWF)และ HTML หลังจากที่ Publish ก็จะได้ ไฟล์ 2 ไฟล์ คือ
.SWF กับ .HTML
Flash (SWF) ส่งออกเป็น Flash movie File (.swf) สำหรับใช้งานบนเว็บไซต์ Adobe Connect
Enterprise ส่งออก Online บนอินเทอร์เน็ต
Standalone ส่งออกเป็นไฟล์ *.exe สำหรับสื่อเรียนรู เปิดดูได้โดยไม่ต้องติดตั้งโปรแกรม E-Mail
ส่งออกเป็น E-Mail
Print ส่งออกเป็นใบปลิว (ส่งออกโปรแกรม Microsoft Word) FTP ส่งออกเป็น File Transfer ProtocalOutput OptionsZip File ส่งออกเป็นไฟล์ *.ZIP ซึ่งสามารถนำเข้าบทเรียนออนไลน์ใน Moodle ในรูปแบบ ScromFull screen ส่งออกแบบเต็มจอภาพ เมื่อเลือกเพิ่มExport HTML ส่งออกเป็นไฟล์ *.HTML จะได้ทั้งไฟล์ที่เป็น .SWF กับ .HTMLGenerate autorun for CD สร้างระบบ autorun สำหรับแผ่น CDFlash Version เป็นการเลือกรุ นของโปรแกรมเล่นไฟล์ FlashProject Information
โดยเลือก Preferences สำหรับตั้งค่าต่างก่อนที่จะนำออกไป จะปรากฏหน้าต่างใหม่ให้ตั้งค่า
Preferences แสดงข้อมูลเกี่ยวกับไฟล์ที่ส่งออก เช่น ขนาดของการแสดงผล (Resolution), จำนวน
สไลด์ทั้งหมด (Slides), การใส่เสียงประกอบสไลด์ (Slide with audio) คุณภาพของเสียง (Audio Quality),e-learning Output, แถบควบคุม Movie (Playback Control) Preferences… การกำหนดรูปแบบการส่งออกเพิ่มเติมStandalone ส่งออกเป็นไฟล์ *.exeในการสร้างสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบที่เป็นลักษณะคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อที่จะให้นักเรียนนักศึกษาสามารถที่จะนำไปศึกษาเพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง มีขั้นตอนการสร้างดังนี้
1. เลือกเครื่องมือ Publish แล้วเลือก Standalone เมื่อทำเสร็จสามารถที่ใช้งานได้เลยโดยเลือกเปิด
เล่นจากไฟล์ที่สร้างขึ้นมา
2. ทำเหมือนกันทุกๆ หน่วย หรือที่มีอยู่จนหมดทุกงาน เพื่อที่จะสร้างเมนูสำหรับใช้งานให้ได้งาน
ทั้งหมด
3. เลือกเมนู File แล้วทำภาพ
4. จะได้หน้าต่างใหม่ดังภาพแล้วทำตามได้เลย5. เลือกรูปแบบเมนู6. สร้างเมนูที่หน้าแรกของงานที่นำเสนอ7. จะได้หน้าต่างสำหรับตั้งชื่อแผ่นซีดี แล้วก็กด Finish
8. จะได้หน้าต่างสำหรับปรับแต่งเมนูให้เหมาะสม
9. เมื่อปรับแต่งเสร็จให้เลือกเครื่องมือ Export เพื่อนำไปใช้งานจริง
10. เมื่อเกิดหน้าต่างใหม่ขึ้นมาให้ตั้งชื่อและเลือก Folder ที่จะบันทึก แล้วกด Finish
11. จากนั้นให้ทดลองทดสอบว่างานที่ทำเสร็จสามารถใช้งานได้หรือไม่
12. เมื่อตรวจสอบแล้วก็ให้นำงานทั้งหมดใน Folder นั้น เขียนลงในแผ่นซีดีเพื่อนำไปใช้งานจริง
การบันทึกเพื่อนำไปใช้กับ Moodle
แต่ถ้าต้องการนำเข้าในโปรแกรม Moodle เพื่อสร้างบทเรียนออนไลน์ ในลักษณะที่เป็น Scorm
จะต้องเสร็จค่าให้เป็น Scorm ด้วยตามภาพ และเลือก Publish ให้ Zip files
เมื่อกำหนดค่าหมดแล้ว ก็กด Publish โปรแกรมจะทำการบันทึกไฟล์ตามรูปแบบที่กำหนดเมื่อ Publish เสร็จสามารถที่ดูงานที่สร้างเสร็จสมบูรณ์ได้โดยกดปุ่ม View Output งานที่เสร็จนั้นก็
จะแสดงผลให้ดูได้เลย
การนำบทเรียนที่สำเร็จใช้ร่วมกับ โปรแกรม Moodle เพื่อเป็น E_learning
สามารถที่จะทำได้โดยเปิดบทเรียน E_learning ที่สร้างไว้ก่อนแล้วได้ตามขั้นตอนดังนี้
1. เปิด Internet Explorer หรือตัวไหนก็ได้ที่สามารถเข้าอินเตอร์เนตได้
2. เลือกรายวิชาที่จะสร้างบทเรียนแล้วเข้าสู่ระบบในฐานะผู้ที่สามารถแก้ไขงานได้
3. เข้ารายวิชาแล้วให้เริ่มแก้ไขงาน
4. เลือกเพิ่มแหล่งข้อมูล เลือกแบบลิงค์ไฟล์หรือเว็บไซด์
5. จะมีหน้าต่างใหม่ให้เลือก
6. เลือกหรืออัพโหลดไฟล์ เพื่อนำไฟล์ที่สร้างเสร็จแล้วเข้ามาใช้งาน
7. จะได้หน้าต่างใหม่ให้เลือกไฟล์เข้ามาได้8. เมื่อเลือกอัพโหลดไฟล์นี้จะได้หน้าให้เลือกไฟล์
9. จะกลับมาที่หน้าให้บันทึกการเปลี่ยนแปลง
10. เมื่อบันทึกเสร็จก็สามารถที่จะแสดงผลงานผ่านหน้าเว็บไซด์ได้เลยโดยคลิกที่ชื่อของงาน
เมื่อเสร็จแล้วสามารถที่จะเพิ่มบทเรียนอื่นในทำนองเดียวกัน แต่ถ้าหากบทเรียนมีบททดสอบด้วย
ให้ใช้วิธีนำเข้าโดยการเพิ่มกิจกรรมแล้วเลือก Scrom :ขั้นตอนการนำเข้าคล้ายๆ กัน

วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

ความหมายของ VMWARE

ความหมายของ VMWARE

โปรแกรม VMWare เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ลงระบบปฏิบัติการ Windows XP อยู่เดิม แล้วทำการลงระบบปฏิบัติการ Windows NT ผ่านโปรแกรม VMWare อีกทีหนึ่ง ซึ่งเมื่อลงแล้ว ทั้งสองระบบสามารถทำงานพร้อมกันได้โดยแยกจากกันค่อนข้างเด็ดขาด (เสมือนเป็นคนละเครื่อง) โดยคอมพิวเตอร์เสมือนที่สร้างขึ้นมานั้น จะมีสภาพแวดล้อมเหมือนกับคอมพิวเตอร์จริงๆ เครื่องหนึ่ง ซึ่งจะประกอบด้วย พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ร่วมกับพื้นที่ดิสก์ของเครื่องนั้นๆ การ์ดแสดงผล การ์ดเน็ตเวิร์ก พื้นที่หน่วยความจำซึ่งจะแบ่งการทำงานมาจากหน่วยความจำของเครื่องนั้นๆ เช่นกัน ปัจจุบันโปรแกรม VMWare มีเวอร์ชันทั้งสำหรับการทำงานบน Windows และ Linux หากเครื่องท่านเป็น Windows ก็สามารถลองเวอร์ชันสำหรับ Windows ได้ โดยท่านสามารถเข้าไปโหลดโปรแกรมมาทดลองใช้งานได้ที่

http://www.softpedia.com/get/System/OS-Enhancements/VMware-Workstation.shtml

วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คำสั่ง unix

คำสั่ง
man เป็นคำสั่งการแสดงอธิบายการใช้คำสั่ง
alias ใช้เป็นคำสั่งให้สั้นลง
cal ใช้แสดงปฏิทินของระบบ
clear คำสั่งลบข้อความต่างๆบนหน้าจอ
cmp เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์
cat มีค่าเหมือนคำสั่ง type ของ bos ใช้ดูข้อมูลในไฟล์
cut มีไว้สำหรับตัด text
date ใช้แสดงเวลาและวันที่
diff ใช้เปรียบเทียบไฟล์ 2 ไฟล์มีความคล้ายต่างหันอย่างไร
echo ใช้แสดงข้อความ HELLO
exit ออกจากระบบ UNIX
exipr ประมวลค่าจากสูตรคณิตศาสตร์
find ใช้ค้นหาไฟล์ที่ต้องการ
finger ใช้สำหรับแสดงรายละเอียด
grep เป็นคำสั่งที่ใชหาข้อความในไฟล์
head จะแสดงส่วนห้วแฟ้มข้อมูล
move คำสั่งที่ช่วยให้สามารถดูข้อมูลที่มีขนาดได้เป็นช่วงๆ
less เป็ไฟล์ข้อความเพื่อดูรายละเอียดอย่างรวดเร็ว
passwd เป็น password คนที่ทำงานปัจจุบัน
sort ใช้จัดเรียงข้อมูลนั้นเป็นการช่วยให้ผู้ดูแลข้อมูลนั้นสะดวกขึ้น
su เพื่อให้ระบบมีความปลอดภัยมากขึ้นกำหนดให้ user คนไหนบ้าง
tail ใช้สำหรับดูข้อมูลที่บรรทัดล่างสุดของไฟล์
touch เป็นการสร้างไฟล์ไหม่หรือแก้ไขไฟล์
w เป็นคำสั่งที่ใช้ในการกำหนดค่าที่ 8 บิต
whoami เป็นคำสั่งที่แสดงว่าผู้ใช้ logni เข้าสู่ระบบ
who เปลี่ยนตัวเองเป็น root
which คำสั่งเพื่อส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับ
whereis ค้นหาแฟ้มที่ต้องการว่าอยู่ที่ห้องใด

วันอังคารที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551

แหล่งทรัพยากร UNIX

Unix-doc <>UNIX อนุญาตให้ผู้ใช้ รู้การทำงานของซีพียูว่ามีงานอะไรวิ่งอยู่ งานเหล่านี้ถูก เรียกว่า โปรเซส (process) นี่เป็นข้อดีที่UNIX มีเหนือวินโดส์ 95 และ ...wiki.nectec.or.th/ntl/Main/Unix-doc - 26k - หน้าที่ถูกเก็บไว้ - หน้าที่คล้ายกัน

UNIXรูปแบบไฟล์: Microsoft Powerpoint - แสดงเป็นแบบ HTMLAT&T แจก Code ของ UNIX ไปให้กับมหาวิทยาลัยต่างๆ เพื่อหวังให้เป็นที่นิยมมากขึ้น แต่กลับทำให้เกิด UNIX ตัวใหม่ขึ้นมา เรียกว่า BSD UNIX (Berkeley Software ...www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt - หน้าที่คล้ายกัน

อานันท์ สีห์พิทักษ์เกียรติรูปแบบไฟล์: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเป็นแบบ HTMLtemp: directory. unix.ppt: data. unixbig.ppt: data. vbrun300.dl_: data ..... - rwxr-xr-x. 1 arnan. users 45270 Jan 11 13:01 unix.ppt* ...www.spu.ac.th/forum/vishakan/unix.pdf - หน้าที่คล้ายกัน

Unixรูปแบบไฟล์: Microsoft Word - แสดงเป็นแบบ HTMLยูนิกซ์ (Unix แต่ชื่อตามเครื่องหมายการค้าคือ UNIX) เป็นระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ แบบหลายงาน หลายผู้ใช้ ที่เริ่มพัฒนาโดยกลุ่มพนักงานของห้องปฏิบัติการ AT&T ...eclassnet.kku.ac.th/etraining/file/1219120134-Unix.doc - หน้าที่คล้ายกัน

ตอบคำถามความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ unix

โครสร้างของ unix
1. ความเป็นมาของ UNIX ระบบปฏิบัติการ Unixระบบปฏิบัติการ UNIX มีต้นกำเนิดจากห้องปฏิบัติการวิจัย Bell ประเทศสหรัฐอเมริกา โดย Ken Thompson และ Dennis Ritchie ปี พ.ศ. 2512 โดยมีที่มาคร่าวๆ คือสถาบัน MIT (Massascusetts Institute of Technology), ห้องปฏิบัติการวิจัย AT&T Bell Labs และบริษัท GE (General Electric) ร่วมกันพัฒนาโครงการ Multics ในปี 1960 เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการสำหรับ Mainframe Computer รุ่น GE 635 แต่เกิดปัญหาหลายประการ จนกระทั่ง Bell Labs ได้ลาออกจากโครงการ แต่โครงการก็ยังดำเนินการต่อโดย Ken Thompson และ Dennis Ritchie ซึ่งทำงานกับ Bell Labs พร้อมๆ กันไปด้วยต่อมา Ken & Dennis ได้ร่วมกันพัฒนาระบบปฏิบัติการใหม่ เพื่อทำงานบนเครื่อง PDP-7 และใช้ชื่อว่าระบบปฏิบัติการ UNIX เพื่อให้ออกเสียงใกล้เคียงกับระบบ Multics ดังนั้นต้นกำเนิดของ UNIX ก็คือ Multics นั่นเอง หลังจากนั้นทั้งสองได้พัฒนามาเป็น Version 2 เพื่อทำงานบนเครื่องรุ่น PDP-11/20 โดยใช้ภาษา Assembly และได้พัฒนาปรับปรุงด้วยภาษา C และเผยแพร่ไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆ ด้วย Version 6 ในปี ค.ศ. 1976ในปี ค.ศ. 1978 Version 7 ก็ถูกพัฒนาออกมา ซึ่งเป็นต้นแบบของระบบ UNIX รุ่นใหม่ๆ หลังจากนั้น AT&T ซึ่งเป็นองค์กรแม่ของ Bell Labs ได้เป็นผู้รับผิดชอบ และควบคุมการออกตัวระบบปฏิบัติการ UNIX ดังนั้น UNIX จึงกลายเป็นผลิตภัณฑ์ แทนที่จะเป็นเครื่องมือวิจัย AT&T ได้พัฒนา UNIX ออกมาใช้งานภายนอก ภายใต้ชื่อ System III ในปี 1982 และปี 1983 ก็ออก System V และพัฒนามาเรื่อยๆ จนได้รับความนิยมในปัจจุบันhttp://learners.in.th/blog/utraaom/34131
2. คุณสมบัติ UNIX•Software Tool–โปรแกรมบน UNIX จะแบ่งตัวเองออกเป็นส่วนย่อยๆ และสามารถใช้งานส่วนย่อยเหล่านั้นร่วมกัน ระหว่างหลายๆ โปรแกรมได้ •Portability–เนื่องจาก UNIX สามารถนำไปใช้กับเครื่องแบบต่างๆ ได้มากมาย โปรแกรมที่ใช้งานบน UNIX จะสามารถนำไปใช้ได้ด้วยเช่นเดียวกัน•Flexibility–UNIX มีความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง สามารถนำไปใช้กับงานเล็กๆ หรืองานใหญ่ๆ ก็ได้ •Power–สามารถทำงานที่ซับซ้อนได้ดี และมีความสามารถในด้านต่างๆ มากกว่าระบบปฏิบัติการอื่นๆ•Multi-user & multitasking–สามารถมีผู้ใช้งานได้ทีละหลายๆคน และทำงานหลายๆ อย่างพร้อมกัน•Elegance–หลักการทำงานของส่วนต่างๆ จะเหมือนกัน ดังนั้นเมื่อผู้ใช้ทำงานส่วนหนึ่งได้ ก็จะเรียนรู้และใช้งานส่วนอื่นๆ ได้ง่าย •Network Orientation–UNIX เป็นระบบปฏิบัติการที่สนับสนุนการใช้งานเครือข่าย โดยเฉพาะเครือข่าย TCP/IP ซึ่งใช้ในระบบ Internethttp://www.compsci.buu.ac.th/~jakkaman/C_Programming/week01(18%20June%2001)/Unix.ppt
3. โครงสร้าง UNIX โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ Unix นั้น สามารถแบ่งได้เป็น 4 ระดับด้วยกัน คือ1.ฮาร์ดแวร์ ทุกคนก็คงรู้จักกันแล้วว่ามันคือ อุปกรณ์ที่สามารถจับต้องได้นั่นเอง2.ยูนิกซ์ เคอเนล จะทำหน้าที่ในการควบคุมการทำงานทั้งหมดของระบบ ได้แก่ การจัดสรรทรัพยากร การจัดการกับข้อมูลต่างๆ ซึ่งส่วนประกอบตัวนี้จะขึ้นอยู่กับฮาร์แวร์ หากมีการเปลี่ยนแปลงฮาร์ดแวร์ เคอเนลก็จะเปลี่ยนแปลงด้วยค่ะ3.เซลล์ เป็นตัวกลางระหว่างคอมพิวเตอร์และผู้ใช้ คือ นำคำสั่งจากผู้ใช้ไปแปลเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ เรียกว่า command interpreter เซลล์ที่ใช้งานกันก็มีหลายแบบ แต่ที่เป็นที่นิยม ได้แก่>Bourne shell (sh) เป็นเซลล์ต้นแบบของทุกเซลล์>C shell (csh) พัฒนาหลังจาก Bourne shell แต่สามารถเก็บข้อมูลคำสั่งที่เคยใช้ได้>Korn shell (ksh) เป็นเซลล์ที่นำคุณสมบัติเด่นของ Bourne shell และ C shell มารวมกัน>Bourne again shell (bash) มีลักษณะคล้าย Korn shell และสร้างขึ้นมาให้มีการใช้ฟรี ซึ่งระบบปฏิบัติการ Linux ก็นำมาใช้ด้วยเช่นกัน4.โปรแกรมประยุกต์ โปรแกรมที่ใช้งานเพิ่มเติม http://learners.in.th/blog/os-bow/2990
4. Shell UNIX Shell คือโปรแกรมโปรแกรมหนึ่งบน unix ที่ทำหน้าที่ interface ระหว่าง user กับ unix(kernel) user จะสามารถสั่งงาน unix ได้โดยผ่าน shell เท่านั้นไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม ทางตรงก็คือ user สั่งงาน shell ให้ไปสั่งงาน kernel เลย เช่น internal command ส่วนทางอ้อมคือ user สั่งงานให้ shell ไป execute application ให้ไปสั่งงาน kernel อีกทีหนึ่ง โปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็น shell มีอยู่หลายตัว แต่ที่นิยมใช้กันอยู่ใน ปัจจุบันมีดังต่อไปนี้Bourne shell (/bin/sh) เป็น shell ในยุคแรกๆ ที่มีใช้กันอย่างแพร่หลาย และเป็น starndard shell ที่มีใน unix ทุกตัว ทำให้สามารถย้าย shell script ที่เป็น bourne shell ไปยัง unix ระบบอื่นได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงแก้ไขอะไรเลย แต่มีข้อเสียคือขาด funciton ในการทำ job control จะมี default prompt เป็น "$"C shell (/bin/csh) เป็น shell ที่พัฒนาขึ้นมาหลังจาก bourne shell โดยมีโครงสร้างของ syntax และ control structures คล้ายกับภาษา C มี function การทำงานหลายอย่างที่ดีและสะดวกกว่า bourne shell เช่น มีความสามารถในการเรียกคำสั่งที่ใช้ไปแล้ว และเป็น shell ตัวแรกที่สามารถทำ jobs control ได้ แต่มีข้อเสียคือ ทำงานกับ shell script ของ bourne shell ไม่ได้ โดยปรกติ default prompt จะเป็น "%"Korn shell (/bin/ksh) เป็น shell ที่พัฒนาขึ้นมาโดยสามารถทำงานใน function ของ bourne shell (super set ของ bourne shell) ได้ทุกอย่างและยังเพิ่มความสามารถในการทำ jobs control ขึ้นมา การ เขียน shell script ทำได้ง่ายและรัดกุมขึ้น สามารถเรียกคำสั่งที่เคยใช้ไปแล้วมาแก้ไขแล้ว execute ไปใหม่ได้ สรุปว่าเป็น shell ที่รวมเอาข้อดีของ bourne shell และ c shell ไว้ด้วยกัน แต่ไม่ได้มีใน unix ทุกตัว korn shell จะมีขนาดใหญ่กว่า shell อื่น ๆ default prompt จะเป็น "$"Bourne Again shell (/usr/local/bin/bash หรือ /bin/bash) เป็นการนำเอา bourne shell กลับมาพัฒนาใหม่ ให้สามารถทำ command line editing ได้ และทำ jobs control ได้ และยังได้เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้พิ่มขึ้นอีกหลายอย่าง bash shell นี้ไม่ใช่ standard unix shell แต่ปัจจุบันกลายเป็น default shell ของ linux จะมี default prompt เป็น $ http://tulip.bu.ac.th/~nattakorn.c/shell_env.php
5. ระบบไฟล์และไดเร็กทอรี UNIXUNIX มองทุกอย่างเป็นไฟล์หมด แม้แต่หน่วยความจำ (/dev/mem) ซีดีรอม (/dev/cdrom) เม้าส์ (dev/mouse) โมเด็ม (/dev/modem) ระบบไฟล์และไดเรคทอรีบนUNIX มีโครงสร้างแบบต้นไม้ (tree structure) โดยไดเรคทอรีนอกสุด คือ ไดเรคทอรีราก (root directory) ใช้ / เป็นตัวแทนครับ ซึ่งก็จะมีไดเรคทอรีย่อยแตกแขนง ออกไปอีกเช่น/usr /local /lib /etc /binในแต่ละไดเรคทอรีบรรจุไฟล์และไดเรคทอรีย่อยลงไปอีกเช่นใน /usr จะมี local binชื่อไดเรคทอรีแบบนี้จะมีความหมาย ก็ต่อเมื่อ เรารู้ว่าไดเรคทอรีนอกก่อนคืออะไร วิธีเรียกชื่อแบบนี้ถูกเรียกว่า relative pathname แต่ถ้าหากเราใช้ /usr/local หรือ /usr/bin แทน local หรือ bin เราก็จะทราบโครงสร้าง tree structure ที่แท้จริงของไดเรคทอรีนี้ วิธีการเรียกแบบนี้เรียก absolute pathname ไดเรคทอรีที่ผู้ใช้ล็อกอินเข้าไปเรียกว่า home directory ซึ่งก็ขึ้นกับผู้บริหารระบบว่าจะให้ไปอยู่ทีไหน http://wiki.nectec.or.th/ntl/Main/Unix-doc

วันอังคารที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2551

คำอธิบายรายวิชาระบบปฏิบัติการ 2และ e-leaning

1. คำอธิบายรายวิชา ระบบปฏิบัติการ2
ศึกษาหลักการพื้นฐานของระบบปฏิบัติการ ชนิดของระบบดำเนินงาน ขบวนการ การโปรแกรมขนาน การติดต่อแบบได้จังหวะ บริเวณวิกฤต ซีมาฟอร์ ล็อคถาวร ระบบการจัดแฟ้มข้อมูล การป้องกันทรัพยากรหน่วยความจำโดยตรง หน่วยความจำแคชและหน่วยความจำเสมือน
http://www.google.co.th/search?hl=th&q=%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%AD%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2+%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3+2+4121402&meta=lr%3Dlang_thURL Website
http://mis.pkru.ac.th/syllabus/view_syllabus.php?id=61 http://202.29.21.6/~bangkom/bindex.htm http://academic.pcru.ac.th/index/course/7_12.htm http://cs.mcru.ac.th/modules.php?name=History&file=explain http://cptd.chandra.ac.th/index.php?Content=subject47 http://www.nsru.ac.th/computer/curriculum/subject.php?id=4121402&course_id=3http://reg.nida.ac.th/registrar/program_info_1.asp?f_cmd=2&levelid=23&programid=10000314&facultyid=4&departmentname=%BB%C3%D1%AA%AD%D2%B4%D8%C9%AE%D5%BA%D1%B3%B1%D4%B5+(%C7%D4%B7%C2%D2%A1%D2%C3%A4%CD%C1%BE%D4%C7%E0%B5%CD%C3%EC)&programname=%BB%C3%D1%AA%AD%D2%#currenthttp://www.yonok.ac.th/burin/os/os00.htmhttp://202.143.169.83/moodle/course/info.php?id=16http://tabian.kpru.ac.th/cur/cur2.asp?Code=4122402
ที่มาจาก
1.มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
2.มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี
3.มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
4 .มรภ.หมู่บ้านจอมบึงจังหวัดราชบุรี
5.มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
6.มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครสวรรค์
7.สถาบันบัณฑิตบริหารศาสตร์
8.มหาวิทยาลัยโยนก
9.วิทยาลัยสารพัดช่างอุทัยธานี
10มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
ชี่อ: นายรณชัย
นามสกุล: พิมพ์แต้ม
รหัสนักศึกษา 5012252109
ชี่อเล่น ใจ
เพี่อนสนิท 1.นายวิทยา ศิรินัย
To: 0851396109
2.นายสมปอง ทองเสก
To: 0862486905
http://www.blogger.com/ronchai_jai
ronchai_jai@hotmail.com
http://www.geocities.com/ronchai_jai
0804717411